การนำเสนอกิจกรรม QA ครั้งที่ 69 (4/2552) ภาควิชาจักษุวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน และข้อเสนอเพื่อการพัฒนา โดย กลุ่มงานวัดและประเมินผล การศึกษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา.
บุคลากรของหน่วยบริการการศึกษา
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ ด้านการเรียนการสอน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
โครงการนำร่อง EdPex คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
แนวทางการลด Hospital stay readmission, waiting/cycle/turn around time
ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Department of Orthopaedic Surgery
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ E-learning
QA : e-Learning.
E-Learning Chainarong Choksuchat
ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรม
มองไม่เห็นก็เรียนได้
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ของวิชา การรู้สารสนเทศInformation Literacy
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
Seminar in Information Technology II
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ยินดีต้อนรับ คณะผู้ตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รศ.ดร. เสริมศรี ไชยศร และ รศ.ดร.ดาราวรรณ.
งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เทคนิควิธีการ การทำงานในความรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมาย
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
E-learning ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
นโยบายด้านงานแพทยศาสตรศึกษา
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ผลการประเมินการดำเนินงาน 46
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1 ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ปี มก. กำหนดให้เป็นปีแห่ง การพัฒนาคุณภาพและ จัดการวิชาการ ศาสตราจารย์ ดร.
1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชาภาคปฏิบัติ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการประเมินผลงาน ทางวิชาการ
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
การดำเนินงานวัด ความพึงพอใจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 6 ปี 2551.
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้วิจัย สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สาขาโรคมะเร็ง.
นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
ผู้วิจัย อาจารย์พรรณี เสือรักษ์
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
การสร้างสื่อ e-Learning
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนำเสนอกิจกรรม QA ครั้งที่ 69 (4/2552) ภาควิชาจักษุวิทยา เรื่อง E-Learning / Telemedicine ภาควิชาจักษุวิทยา วันที่ 30 ตุลาคม 2552

Scope ภาควิชามีการวางแผนจัดการเรียนการสอน E-learning อย่างไรบ้าง

ภาควิชามีการวางแผนจัดการเรียนการสอน E-learning อย่างไรบ้าง

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา วัตถุประสงค์ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนของภาควิชา ให้มีผลตามเป้าหมายของคณะและมหาวิทยาลัย และสามารถผลิตสื่อการเรียนการสอนได้อย่างสม่ำเสมอ โดยสอดคล้องกับหลักสูตร พัฒนาองค์ประกอบพื้นฐานเพื่อเกื้อหนุนต่อการสร้างสื่อการเรียนการสอน เผยแพร่สื่อการเรียนการสอนให้แก่นักศึกษาได้อย่างทั่วถึง

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา ผู้รับผิดชอบโครงการ : หัวหน้าภาควิชา, คณะกรรมการด้านการศึกษาก่อนและหลังปริญญา แผนการดำเนินงาน : กำหนดให้งานสื่อการเรียนการสอนเป็นส่วนหนึ่งของภาระงานของอาจารย์แพทย์ อาจารย์เข้าอบรมด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน อย่างน้อย 1 คน เมื่อมีการจัดการอบรม

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา แผนการดำเนินงาน : จัดตั้งอาจารย์ที่รับผิดชอบงานพัฒนาสื่อการเรียนการสอนจากคณะกรรมการด้านการศึกษาก่อนและหลังปริญญา โดยทำหน้าที่ 3.1 กำหนดเป้าหมายการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในแต่ละปี 3.2 กระตุ้นให้เกิดการผลิตสื่อการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยกำหนดการประชุมทุก 4 เดือน เพื่อช่วยเสนอหัวข้อในการผลิตสื่อ, ติดตามความก้าวหน้าในการทำ, ร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการผลิตสื่อการเรียนรู้

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา แผนการดำเนินงาน : 3.3 สำรวจความต้องการพื้นฐานในการผลิตสื่อการเรียนการสอนจากบุคลากรภายในภาควิชา ปีละอย่างน้อย 2 ครั้ง 3.4 รวบรวมผลการผลิตสื่อการเรียนรู้ทั้งหมด ทุกปี 3.5 ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านวิชาการของภาควิชาในการให้ข้อมูลแก่นักศึกษา เพื่อการค้นคว้า

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา แผนการดำเนินงาน : 3.6 จัดทำแบบประเมินผลการใช้สื่อการเรียนการสอนของนักศึกษา แล้วนำผลมาวิเคราะห์เพื่อนำไปสู่การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน และตรงกับวัตถุประสงค์ของบทเรียนให้มากที่สุด 3.7 จัดระบบและดูแล Website และ Virtual Classroom ของภาควิชา สนับสนุนให้บุคลากรเข้ารับการอบรมหลักสูตรการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนแบบต่าง ๆ

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา เป้าหมาย ภาควิชาผลิตสื่อการเรียนการสอน (CAI, VDO, Slide, เนื้อหาใน virtual class room) เรื่องใหม่อย่างน้อย 1 เรื่อง/ปี/ภาควิชา อย่างสม่ำเสมอ อาจารย์เข้ารับการอบรมด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 คน เมื่อมีการจัดการอบรม มีบุคลากรที่เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของภาควิชา

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา เรื่อง ผู้จัดทำ เมื่อ 1 Common external eye disease พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ 1 ม.ค. 2537 2 การฝึกตรวจ DR นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล 1 ม.ค. 2541 3 Blurred vision นพ.จักรี หิรัญแพทย์ 1 เม.ย. 2543 4 Visual field defect นพ.นิพัฒน์ เอื้ออารี 1 มิ.ย. 2546 5 Eye screening พญ.ภัสสร ปรีชาไว 6 Ocular trauma พญ.เพ็นนี สิงหะ 20 เม. 2547 7 Color Vision นพ.บุญชัย หวังศุภดิลก 27 ก.ย. 2548 8 Common eye disease Prediatric 1 ม.ค. 2550 9 The Swollen optic disc 11 ต.ค. 2550 10 อ.พญ.ปฐมา ภูรยานนทชัย 25 กพ. 2551 11 Red Eye 5 ม.ค. 2552 12 Ocular emergency นพ.ธวัช ตันติสารศาสน์ 31 มีค 2552 เป้าหมาย ภาควิชาผลิตสื่อการเรียนการสอน (CAI, VDO, Slide, เนื้อหาใน virtual class room) เรื่องใหม่อย่างน้อย 1 เรื่อง/ปี/ภาควิชา อย่างสม่ำเสมอ

แผนการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนภาควิชาจักษุวิทยา เป้าหมาย อาจารย์เข้ารับการอบรมด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอย่างน้อย 1 คน เมื่อมีการจัดการอบรม มีบุคลากรที่เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนของภาควิชา 2550 อ พญ วันทนีย์ ศรัณยคุปตย์ 2551 อ นพ พิชัย จิรรัตนโสภา 2552 อ นพ วีระวัฒน์ คิดดี คุณพนิดา เพชรปาน

2. ภาควิชาใช้ E-learning สนับสนุนการสอนอย่างไรบ้าง

ภาควิชาใช้ E-learning สนับสนุนการสอนอย่างไรบ้าง ร่วม Telemedicine ในรายวิชาสุขภาพและโรคของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 ในหัวข้อ Eye sign in systemic disease

E-learning ในรายวิชา 388 – 471 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกด้านจักษุ โสต ศอ นาสิกวิทยา 1, 2 สำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

เนื้อหาประกอบด้วย แผนการสอน จำนวน 14 เรื่อง เอกสารประกอบการสอน 17 เรื่อง สื่อการเรียนการสอน 3.1 Slide ประกอบคำบรรยาย 7 เรื่อง 3.2 CAI จำนวน 12 เรื่อง 3.3 VDO จำนวน 6 เรื่อง

แผนการสอน จำนวน 14 เรื่อง * Lecture จำนวน 9 เรื่อง คือ 1. Review anatomy and physiology of the eye 2. General eye examination 3. Disorder of ocular muscle 4. Red eye 5. Blurred vision 6. Ocular pharmacology 7. Sceening approach for glaucoma 8. Eye pain 9. Preventive ophthalmology * Skill Practice จำนวน 1 เรื่อง คือ Common eye procedure * Case study จำนวน 4 เรื่อง คือ - Common eye disease 1 (Red eyeI/Blurred visionI) - Common eye disease 2 (Strabismus/Diplopia) - Common eye disease 3 (Leukocoria/Proptosis) - Common eye disease 4 (Red eyeII/Blurred visionII)

เอกสารประกอบการสอน 17 เรื่อง เรื่องที่ต้องรู้ 10 เรื่อง Anatomy and physiology of the eye I Anatomy and physiology of the eye II Anatomy and physiology of the eye III General eye examination Eye stain Strabismus and amblyopia Preventive Ophthalmology Disorder of ocular muscle หัตถการจำเป็นทางตาสำหรับเวชปฏิบัติทั่วไป ปวดตา เรื่องที่ควรรู้ 5 เรื่อง 1. Blurred vision 2. Screening approach for glaucoma 3. Ophthalmic Medication Guideline 4.Retinal detachment 5. Hypertension and retinal vascular diseases เรื่องที่ควรรู้ 2 เรื่อง 1. Lens and cataract 2. การรักษาโรคทางตาด้วย Laser

สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย Slide ประกอบคำบรรยาย 7 เรื่อง General eye examination I Skill practice : Common eye procedure : การฝึกตรวจจอประสาทตาด้วย Direct Ophthalmoscope I Blurred vision Eye pain Screening approach for glaucoma Preventive ophthalmology Disorder of ocular muscle

สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย - CAI จำนวน 12 เรื่องประกอบด้วย เรื่อง ผู้จัดทำ เมื่อ 1 Common external eye disease พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ 1 ม.ค. 2537 2 การฝึกตรวจ DR นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล 1 ม.ค. 2541 3 Blurred vision นพ.จักรี หิรัญแพทย์ 1 เม.ย. 2543 4 Visual field defect นพ.นิพัฒน์ เอื้ออารี 1 มิ.ย. 2546 5 Eye screening พญ.ภัสสร ปรีชาไว 6 Ocular trauma พญ.เพ็นนี สิงหะ 20 เม. 2547 7 Color Vision นพ.บุญชัย หวังศุภดิลก 27 ก.ย. 2548 8 Common eye disease Prediatric 1 ม.ค. 2550 9 The Swollen optic disc 11 ต.ค. 2550 10 อ.พญ.ปฐมา ภูรยานนทชัย 25 กพ. 2551 11 Red Eye 5 ม.ค. 2552 12 Ocular emergency นพ.ธวัช ตันติสารศาสน์ 31 มีค 2552

สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย - VDO จำนวน 6 เรื่องประกอบด้วย การปิดตาด้วย Pressure Patches และ eye shields โดยผศ.พญ.สุจิตรา กนกกัณฑพงษ์ หัตถการทางจักษุ เทคนิคการล้างท่อน้ำตา  เทคนิคการปิดตาแบบ Pressure Patching โดย ผศ.นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล การล้างท่อน้ำตา Lacrimal irrigation โดย รศ.พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ การตรวจตาบอดสี โดย รศ.พญ.สุภาภรณ์ เต็งไตรสรณ์ การผ่าตัดลอกเนื้อ Pterygium Excision โดย ผศ.นพ.สุเรนทร์ วิริยะเสถียรกุล การวัดความดันตาด้วย Schiotz Tonometer โดย ผศ.นพ.ธวัช ตันติสารศาสน์   

3. ความพึงพอใจในการใช้ E-learning

ความพึงพอใจในการใช้ E-learning สรุปผลการประเมินสื่อ จากนศพ 97 คน จาก 110 คน คิดเป็น 88.18 % จากนักเรียนปี 4 ทั้งหมด หมายเหตุยังไม่รวมกอง 6 เพราะเริ่มเรียนวันที่ 12 ตค 52 รายการประเมิน กอง 1 กอง 2 กอง 3 กอง 4 กอง 5 รวม X SD - ภาควิชามีจำนวนสื่อ e-learning สนับสนุนต่อการเรียนการสอน 4.50 0.51 5.00 4.3 0.66 4.5 0.76 4.35 0.70 4.54 0.63 - สื่อ e-learning ของภาควิชาสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของท่าน 4.55 4.9 0.31 0.60 4.24 0.97 4.56 0.68 - ความสะดวกในการใช้บริการสื่อ e-learning ของภาควิชา 4.7 0.47 5 4.4 4.45 0.83 3.76 4.48 0.72 4.58 0.49 4.97 0.18 4.42 0.62 0.77 4.12 0.86 4.53 จากคะแนนเต็ม5

Thank you