หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์
การประชาสัมพันธ์ การประชาสัมพันธ์ คือ “เครื่องมือการสื่อสารการตลาดที่มุ่งสร้าง ภาพพจน์และทัศนคติที่ดีขององค์กร ผลิตภัณฑ์ และตรายี่ห้อต่อ ผู้บริโภค สื่อมวลขน สาธารณชน พนักงานในองค์กร ผู้ถือหุ้น หน่วยงานภาครัฐ และกลุ่มมวลชนอื่น ๆ”
วัตถุประสงค์ของการประชาสัมพันธ์ 1. สร้างภาพพจน์ที่ดี ทั้งต่อองค์กร ตรายี่ห้อ และสินค้า 2. ให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 3. สร้างความน่าเชื่อถือ
ประเภทของการประชาสัมพันธ์ 1. การประชาสัมพันธ์เชิงรุก (Proactive PR) 2. การประชาสัมพันธ์เชิงรับ (Reactive PR)
เครื่องมือที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์ 1. การให้ข่าว (Publicity) 2. สัมภาษณ์ (Interview) 3. สื่อมวลชนสัมพันธ์ (Press Relation) 4. ชุมชนสัมพันธ์ (Community Relation) 5. กิจกรรมสาธารณะประโยชน์ (Public Service Activities) 6. การประชาสัมพันธ์ภายใน (In-house Relation) 7. สื่อสร้างเอกลักษณ์องค์กร (Identity Media)
กิจกรรมพิเศษทางการตลาด กิจกรรมพิเศษทางการตลาด (Event Marketing) หมายถึง การจัด กิจกรรมทางการตลาดให้สอดคล้องกับสถานการณ์พิเศษ หรือ สร้างกิจกรรมทางการตลาดที่เป็นเหตุการณ์พิเศษ อยู่ในความสนใจ ของคนส่วนใหญ่
วัตถุประสงค์ของกิจกรรมพิเศษ สร้างความรู้จักในตรายี่ห้อ ให้ข้อมูล ความรู้ในตัวผลิตภัณฑ์ เตือนความทรงจำในตราสินค้า สร้างภาพลักษณ์ต่อผลิตภัณฑ์ หรือ องค์กร
ลักษณะของกิจกรรมพิเศษ Social Event - Calendar Event - Ad hoc Event - Regional Event Organization Creativity Event - Social Responsibility Event - Organization Calendar Event - Special Event
ประเภทของกิจกรรมพิเศษ ประกวด แข่งขัน มหกรรมการขาย/ ส่งเสริมการขาย เปิดตัวสินค้า มอบรางวัล สัมมนา นิทรรศการ งานแสดงสินค้า การแสดง บันเทิงพิเศษ งานฉลอง ทำลายสถิติ กิจกรรมเพื่อสังคม
กิจกรรมพิเศษที่ดี ชัดเจน เหมาะสม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย ช่วยให้ยี่ห้อเข้มแข็งในระยะยาว สอดคล้องกับกิจกรรมการตลาดและภาพลักษณ์ ระยะเวลาเหมาะสม กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วม ไม่ผิดกฎหมาย ล่อแหลม ใช้งบประมาณอย่ามีประสิทธิภาพ
กิจกรรมพิเศษที่ดี แปลก ใหม่ ใหญ่ ดัง