คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยินดีต้อนรับ ท่านผู้อำนวยการ คุณครูแนะแนว หรือผู้แทนทุกท่าน วันที่ 26 มิถุนายน 2553 ณ ห้องมอดินแดง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รศ.ดร.นพ. สมพงษ์ ศรีแสนปาง รศ.ดร.นพ. สมพงษ์ ศรีแสนปาง ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ด้านการรับบุคคลเข้าศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก่อตั้ง 9 กันยายน พศ. 2515 เริ่มสอนนักศึกษาในปี พศ. 2517 ปัจจุบันผลิตบัณฑิตจบแล้ว 32 รุ่น จำนวน 3,287 คน
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปณิธาน: คณะแพทยศาสตร์ก่อตั้งขึ้นเพื่อผลิตบัณฑิตสาขาแพทยศาสตร์ โดยเน้นหนักด้านเวชปฏิบัติทั่วไปและสุขภาพชุมชน ทั้งนี้เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นศูนย์กลางความร่วมมือในการค้นคว้าวิจัยปัญหาด้านสุขภาพ
คณะแพทยศาสตร์ วิสัยทัศน์: เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของเอเซีย ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีมาตรฐานการศึกษาระดับสากล การวิจัยและการบริการเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ และมีการบริหารจัดการที่ดี
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปัจจุบัน
(131+116) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2554 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2554 บัณฑิตศึกษาคลินิก แพทยศาสตรบัณฑิต (1,676) (171) วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เวชนิทัศน์) 47 แพทย์ประจำบ้าน 21 หลักสูตร แพทย์ประจำบ้านต่อยอด 15 หลักสูตร ป.บัณฑิตชั้นสูง 13 หลักสูตร ปริญญาเอก(วิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก) 1 หลักสูตร 48 วิทยาศาสตร์บัณฑิต(รังสีเทคนิค) Ph.D./MD. หลักสูตรนานาชาติ ประกาศนียบัตร 1 หลักสูตร ปริญญาโท 2 หลักสูตร ปริญญาเอก 1 หลักสูตร ปริญญาโท 12 หลักสูตร ปริญญาเอก 11 หลักสูตร บัณฑิตศึกษาปรีคลินิก (131+116)
หลักสูตรที่คณะฯรับผิดชอบ รับรองโดยสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น (39+1 หลักสูตร) I. ระดับปริญญาตรี 3+1 หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเวชนิทัศน์ (ต่อเนื่อง) วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขารังสีเทคนิค (ต่อเนื่อง) วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์การแพทย์) II. ระดับบัณฑิตศึกษาทางปรีคลินิก 23 หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต 12 สาขา (นานาชาติ 2 ) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต 11 สาขา (นานาชาติ 1 ) โครงการวิทยาศาสตรบัณฑิต-ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต-แพทยศาสตรบัณฑิต III. ระดับบัณฑิตศึกษาทางคลินิก 13 หลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก 12 สาขา โครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์คลินิก
หลักสูตรที่คณะฯรับผิดชอบ รวมหลักสูตรทั้งหมดที่ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น รับรองโดยสภาวิชาชีพ (แพทยสภา) 36 หลักสูตร IV. หลักสูตรฝึกอบรมวุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญร่วมกับราชวิทยาลัยในกำกับของแพทยสภา จำนวน 36 หลักสูตร หลักสูตรฝึกอบรมวุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญฯ 21 สาขา หลักสูตรฝึกอบรมวุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญต่อยอด 15 อนุสาขา รวมหลักสูตรทั้งหมดที่ คณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น รับผิดชอบ 76 หลักสูตร
คณแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 38 ปี
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต กำลังการผลิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มข. 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 Mega Project I (32) Mega Project II (32) ODOD (84) แพทย์เพิ่ม สธ. (80) แพทย์เพิ่ม สกอ. (74) เพิ่มผลิต 36-44 Mega Project II (16) กลุ่มปกติ100 คน ปี พ.ศ. 25’
หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต กำลังการผลิตแพทย์ คณะแพทยศาสตร์ มข. 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 Mega Project I (32) Mega Project II (32) ODOD (84) แพทย์เพิ่ม สธ. (80) แพทย์เพิ่ม สกอ. (74) เพิ่มผลิต 36-44 Mega Project II (16) กลุ่มปกติ100 คน ปี พ.ศ. 25’
การรับนักศึกษาแพทย์โดยการรับตรง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การรับนักศึกษาแพทย์โดยการรับตรง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการ ODOD รับจาก 12 จังหวัด
การรับนักศึกษาแพทย์โดยการรับตรง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการ CPIRD รับจาก 15 จังหวัด
การรับนักศึกษาแพทย์โดยการรับตรง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการผลิตแพทย์เพิ่มของ สกอ. รับจาก 19 จังหวัด
การจัดการเรียนการสอน 1 2-3 4-5-6 ปรีคลินิก คลินิก เตรียมแพทย์
การจัดการเรียนการสอน 1 2-3 รพ.ศรีนครินทร์ 160* รพ.ขอนแก่น 48 รพ.สรรพสิทธ์ฯ 32 รพ.อุดรธานี 32 32 รพ.มหาสารคาม 16 คลินิก ปรีคลินิก เตรียมแพทย์ * ร่วมกับ รพ.มหาสารคาม, กาฬสินธุ์, ชัยภูมิ, หนองคาย
ศิษย์เก่าที่ปฏิบัติงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แนวโน้มการคงอยู่ของศิษย์เก่าในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉลี่ยร้อยละ 70 สูงกว่าเป้าหมาย ร้อยละ 60 มีทั้งหมด 19 รุ่น จากทั้งหมด 22 รุ่น โดยรุ่นที่มีการคงอยู่มากที่สุดคือ รุ่นที่ 20 (ร้อยละ 92.45) รองลงมาคือ รุ่นที่ 16(ร้อยละ 90) รุ่นที่ 21 (ร้อยละ 89.66) ตามลำดับ มีเพียง 3 รุ่นที่มีการคงอยู่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 คือ รุ่นที่ 2 (ร้อยละ 54.55)รุ่นที่ 5 (ร้อยละ 51.16)และรุ่นที่ 6 (ร้อยละ 48.78)
สวัสดี แนวโน้มการคงอยู่ของศิษย์เก่าในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉลี่ยร้อยละ 70 สูงกว่าเป้าหมาย ร้อยละ 60 มีทั้งหมด 19 รุ่น จากทั้งหมด 22 รุ่น โดยรุ่นที่มีการคงอยู่มากที่สุดคือ รุ่นที่ 20 (ร้อยละ 92.45) รองลงมาคือ รุ่นที่ 16(ร้อยละ 90) รุ่นที่ 21 (ร้อยละ 89.66) ตามลำดับ มีเพียง 3 รุ่นที่มีการคงอยู่ต่ำกว่า ร้อยละ 60 คือ รุ่นที่ 2 (ร้อยละ 54.55)รุ่นที่ 5 (ร้อยละ 51.16)และรุ่นที่ 6 (ร้อยละ 48.78) 22