การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การค้นหาผู้ขาย ในระบบ GFMIS
Advertisements

การใช้งานระบบสินค้าคงคลัง
ระบบทรัพย์สินถาวร KKUF MIS
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
บทที่ 1 เรื่อง การฝากขาย Chollada Advance I : Consign.
บทที่ 14 เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
บทที่ 7 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการขายและลูกหนี้
บทที่ 12 ระบบบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร
บทที่ 8 ระบบบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
การขายผ่อนชำระและการเช่าซื้อ
บทที่ 4 การร่วมค้า การร่วมค้า หมายถึง การประกอบกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจ
บทที่ 10 ระบบบัญชีเกี่ยวกับการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 11 ระบบบัญชีต้นทุนการผลิตสินค้า
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สำนักวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
การวิเคราะห์รายการค้า และหลักการบันทึกบัญชี
หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
การตีราคาสินค้าคงเหลือ และ ต้นทุนขาย
การเบิกเกินส่งคืน.
การปฏิบัติเกี่ยวกับบัญชีเกณฑ์คงค้าง
บทที่ 7 การบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ และการควบคุมสินค้าคงเหลือ
บทที่ 4 งบการเงิน.
การร่วมค้า (Joint Venture)
ระบบบัญชีเดี่ยว.
บทที่ 6 การบัญชีสำหรับกิจการซื้อ-ขายสินค้า
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
นางสาววรนุช ชัยกิตติภรณ์ หัวหน้าสนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์ชลบุรี
ระบบบัญชี.
การตรวจสอบด้านการเงิน
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ
ระบบขายกล้องดิจิตอล Digital sales System.
บัญชีรับ – จ่ายในครัวเรือน และต้นทุนประกอบอาชีพ
ตัวอย่างใบเสร็จรับเงินที่ถูกต้อง
การเบิกเกินส่งคืน ปรับปรุง ณ.วันที่ 21 มิถุนายน 2548.
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
หน่วยที่ 4 รายการปรับปรุงและงบทดลอง หลังรายการปรับปรุง
โรงเรียนอรรถวิทยพณิชยการ บทเรียนออนไลน์
แผนผังทางเดินเอกสาร - ระบบบัญชีเกี่ยวกับการจัดซื้อ
สินค้าคงเหลือ.
บัญชีแยกประเภทและผังบัญชี
สมุดบันทึกรายการขั้นต้น
หน่วยที่ 4 รายการปิดบัญชีและงบการเงินของกิจการอุตสาหกรรม
หน่วยที่ 2 ต้นทุนสินค้าสำเร็จรูป
งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
บทที่ 6 การปิดบัญชี การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป
การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
การออกแบบโครงสร้างการทำบัญชีโดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม EXCEL
งานพัสดุ สินทรัพย์ วัสดุ.
คิดโครงการ(Project) ที่คิดจะทำตอนจบปี 4 การออกแบบระบบร้านขายหนังสือ
ระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
ระบบการเรียกเก็บหนี้
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
วิชาการบัญชีสินค้าและระบบบัญชีเดี่ยว
การบันทึกบัญชีและการจัดทำรายงานการเงิน
หน่วยที่ 3 การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป
บทที่ 3 เงินสดและการควบคุมเงินสด
ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
การวัดการวิจัยในการตลาด
วิชาระบบบัญชีเดี่ยวและสินค้า
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
Accounts payable system
Creative Accounting
FINANCIAL PLANNING (CASH BUDGET)
บทที่ 4 หลักการบันทึกรายการทางบัญชี.
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ผังทางเดินเอกสาร – ระบบส่งคืนสินค้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง บทที่ 11 การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง

การบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง ทำให้ทราบถึงการเคลื่อนไหวและยอดคงเหลือของบัญชีจะบันทึกรายการรับและจ่ายสินค้าทุกครั้งที่มีการซื้อขายสินค้า สินค้า และต้นทุนขายทุกขณะ จึงไม่จำเป็นต้องตรวจนับสินค้าเพื่อหายอดคงเหลือของสินค้าเช่นเดียวกับระบบสิ้นงวด การบันทึกบัญชีสินค้าตามระบบนี้นิยมใช้กับกิจการที่จำหน่ายสินค้าที่มีราคาหน่วยสูง และปริมาณรายการค้าไม่มากนัก เช่น กิจการขายรถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง การซื้อสินค้า (Purchases of Merchandise) การซื้อด้วยเงินสด แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. สินค้า XX Cr. เงินสด XX Dr. ซื้อ XX Cr. เงินสด XX

การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง การซื้อสินค้า (Purchases of Merchandise) การซื้อด้วยเงินเชื่อ แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. สินค้า XX Cr. เจ้าหนี้ XX Dr. ซื้อ XX Cr. เจ้าหนี้ XX

การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง ส่งคืนและส่วนลด (Purchases Returns and Allowances) กรณีซื้อด้วยเงินสด แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. เงินสด XX Cr. ส่งคืนและส่วนลด XX Dr. เงินสด XX Cr. สินค้า XX

การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง ส่งคืนและส่วนลด (Purchases Returns and Allowances) กรณีซื้อด้วยเงินเชื่อ แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. เจ้าหนี้ XX Cr. ส่งคืนและส่วนลด XX Dr. เจ้าหนี้ XX Cr. สินค้า XX

การบันทึกบัญชี ส่วนลดรับ (Purchases Discounts) ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง ส่วนลดรับ (Purchases Discounts) แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. เจ้าหนี้ XX Cr. เงินสด XX ส่วนลดรับ XX Dr. เจ้าหนี้ XX Cr. เงินสด XX สินค้า XX

ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง ค่าขนส่งเข้า (Freight-In) การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง ค่าขนส่งเข้า (Freight-In) แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. ค่าขนส่งขาเข้า XX Cr. เงินสด/เจ้าหนี้ XX Dr. สินค้า XX Cr. เงินสด/เจ้าหนี้ XX

ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง การขายสินค้าเป็นเงินสด การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง การขายสินค้า (Sales) การขายสินค้าเป็นเงินสด แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. เงินสด XX Cr. ขาย XX Dr. เงินสด XX Cr. ขาย XX ราคาขาย Dr. ต้นทุนขาย XX Cr. สินค้า XX ราคาทุน

ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง การขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง การขายสินค้า (Sales) การขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. ลูกหนี้ XX Cr. ขาย XX Dr. ลูกหนี้ XX Cr. ขาย XX ราคาขาย Dr. ต้นทุนขาย XX Cr. สินค้า XX ราคาทุน

ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง รับคืนสินค้าจากการขายสด การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง รับคืนและส่วนลด (Sales Returns and Allowances) รับคืนสินค้าจากการขายสด แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. รับคืนและส่วนลด XX Cr. เงินสด XX Dr. รับคืนและส่วนลด XX Cr. เงินสด XX ราคาขาย Dr. สินค้า XX Cr. ต้นทุนขาย XX ราคาทุน

ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง รับคืนสินค้าจากการขายเชื่อ การบันทึกบัญชี ข้อแตกต่างระหว่างแบบสิ้นงวด และแบบต่อเนื่อง รับคืนและส่วนลด (Sales Returns and Allowances) รับคืนสินค้าจากการขายเชื่อ แบบสิ้นงวด แบบต่อเนื่อง Dr. รับคืนและส่วนลด XX Cr. ลูกหนี้ XX Dr. รับคืนและส่วนลด XX Cr. ลูกหนี้ XX ราคาขาย Dr. สินค้า XX Cr. ต้นทุนขาย XX ราคาทุน

เรียนบัญชี 1 จบแล้วครับ ขอให้สมหวังในชีวิตและการสอบ ทุกๆ วิชานะครับ

สวัสดีครับ อ.ป้อม 089-5522027 pomwea@hotmail.com