งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคการตรวจสอบกิจการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคการตรวจสอบกิจการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
กลุ่มพัฒนาระบบการเงินและการบัญชี สำนักมาตรฐานการบัญชีและการสอบบัญชี

2 เทคนิคการตรวจสอบ คือ วิธีการที่ใช้ในการตรวจสอบเพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการตรวจสอบ

3 ผู้ตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบเอกสารและข้อมูลต่างๆ กฎหมาย
กระบวนการตรวจสอบกิจการ ผู้ตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบเอกสารและข้อมูลต่างๆ ตรวจสอบงบการเงิน ตรวจสอบการดำเนินงาน ตรวจสอบการบริหารงาน กฎหมาย ระเบียบ/คำสั่ง คำแนะนำ นทส. & กตส./กสส ข้อบังคับ/ระเบียบ/มติของสหกรณ์ รายงานการตรวจสอบกิจการพร้อมข้อสังเกตที่ตรวจพบ

4 กระบวนการตรวจสอบกิจการ
การเตรียมการก่อนตรวจสอบ การวางแผนการตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ การงานผลการตรวจสอบ การติดตามผลการตรวจสอบและรายงานผล

5 การเตรียมการก่อนตรวจสอบ ทำความเข้าใจเกี่ยวกับสหกรณ์
พ.ร.บ.สหกรณ์ กฎหมายอื่น ผังการจัดองค์การ การแบ่งแยกหน้าที่ มติที่ประชุมใหญ่/ มติคณะกรรมการ/ ลักษณะธุรกิจของสหกรณ์ แรงกดดันที่ผิดปกติ สหกรณ์ โครงสร้างเงินทุน / งบการเงิน ความซื่อสัตย์ ประสบการณ์ ความรู้ของคณะกรรมการฯ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง รายงานการสอบบัญชี/ รายงานตรวจสอบกิจการ ภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจโดยทั่วไป

6 ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบัญชี สมุดสรุปประจำวัน / สมุดเงินสด
การเตรียมการก่อนตรวจสอบ (ต่อ) ทำความเข้าใจเกี่ยวกับระบบบัญชี สลิปเครดิต / สลิปรับ สลิปเดบิต / สลิปจ่าย สลิปโอน ใบเสร็จรับเงิน (รับค่าหุ้น รับต้นเงินกู้ ดอกเบี้ยเงินให้กู้ อื่นๆ) คำขอกู้/หนังสือกู้เงิน ใบรับเงินกู้ รายการที่ไม่เกี่ยวข้องกับการรับ-จ่ายเงิน โอนแก้ไขข้อผิดพลาด ใบถอนเงินฝาก ใบสำคัญจ่ายเงิน ใบส่งเงินฝาก (รับฝากเงิน) การรับ Dr เงินฝากธนาคาร Cr ..... ใบเสร็จรับเงินของผู้ขาย การจ่าย Dr………… Cr เงินฝากธนาคาร Dr เงินสด Cr ….. Dr ….. Cr เงินสด บันทึกรายการ & สมุดรายวันทั่วไป สมุดสรุปประจำวัน / สมุดเงินสด แก้ไขข้อผิดพลาด Dr Cr บัญชีย่อยและทะเบียนต่างๆ สมุดรวมบัญชีทั่วไป / สมุดแยกประเภททั่วไป งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด งบทดลอง

7 ทำความเข้าใจการควบคุมภายใน
การเตรียมการก่อนตรวจสอบ(ต่อ) ทำความเข้าใจการควบคุมภายใน เพื่อให้ได้ข้อสรุป การควบคุมภายในสหกรณ์มี/ไม่มี ประสิทธิภาพของการควบคุมภายในที่มี การปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่ดี

8 การเตรียมการก่อนตรวจสอบ(ต่อ) การตรวจสอบกิจการกับการควบคุมภายใน
ต้องศึกษาระบบการควบคุมภายใน เพื่อทราบจุดแข็ง จุดอ่อนของสหกรณ์ และใช้เป็นข้อมูลในการวางแนวการตรวจสอบเบื้องต้นว่าจะตรวจสอบด้านใด จึงจะเหมาะสม

9 การเตรียมการก่อนตรวจสอบ(ต่อ) วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบ

10 การเตรียมการก่อนตรวจสอบ(ต่อ)
การควบคุมภายในที่ดี 1. มีการจัดแบ่งส่วนงานที่เหมาะสม 2. มีการกำหนดอำนาจ หน้าที่และความรับผิดชอบไว้ชัดเจน 3. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับตำแหน่งงาน 4. มีการแยกหน้าที่ด้านการเงิน การบัญชี และการเก็บรักษาทรัพย์สินออกจากกัน 5. มีการอนุมัติรายการโดยผู้ได้รับมอบอำนาจ 6. มีการควบคุมดูแลรักษาทรัพย์สินที่เหมาะสม 7. มีระบบบัญชีที่ให้ข้อมูลแก่ฝ่ายบริหารอย่างเพียงพอ 8. ผู้ตรวจสอบสามารถทำหน้าที่ได้อย่างอิสระ

11 การเตรียมการก่อนตรวจสอบ(ต่อ)
การติดตามประเมินผล สหกรณ์ได้มีการติดตามผลเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งจากภายในและภายนอกองค์กร ซึ่งอาจทำให้ระบบการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพลดลง เพื่อให้มีความมั่นใจว่าระบบการควบคุมภายในยังคงมีประสิทธิภาพ หรือได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาวะการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

12 การเตรียมการก่อนตรวจสอบ(ต่อ)
กรณีศึกษา สหกรณ์ตัวอย่าง จำกัด ได้กำหนดระเบียบ ว่าด้วยการรับจ่ายและเก็บรักษาเงินสด ในมือ ไม่เกิน 50,000 บาท แต่ถ้าจ่ายเงินเกิน 50,000 บาท ให้จ่ายเป็นเช็คการควบคุมทางด้าน การเงินสหกรณ์ได้มอบอำนาจให้ผู้จัดการ อนุมัติการเบิกจ่ายแต่ละครั้งได้ไม่เกิน 10,000 บาท และจากการสอบถามทราบว่าเพื่อให้เกิด ความคล่องตัวในการจ่ายเงินกู้ ประธาน กรรมการลงนามในเช็คล่วงหน้าให้ไว้กับ สหกรณ์เดือนละ 1 เล่ม ทั้งนี้ เพื่อความสะดวก และรวดเร็วในการปฏิบัติงาน การบันทึกบัญชี ใช้โปรแกรมระบบบัญชีบันทึกบัญชี ซึ่ง โปรแกรมเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ ทุกคน สามารถเข้าไปช่วยในการบันทึกบัญชีได้โดยมี การกำหนดรหัสผ่านกลางซึ่งเฉพาะเจ้าหน้าที่ เท่านั้น ที่รู้รหัสผ่านนี้

13 การวางแผนการตรวจสอบ แผนการตรวจสอบกิจการ การวางแผนการตรวจสอบ หมายถึง การกําหนดขอบเขต วัตถุประสงค์ ระยะเวลา ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อปฏิบัติงานจริง แผนการตรวจสอบกิจการ ประจำเดือน/ประจำปี แนวการตรวจสอบกิจการ

14 สหกรณ์ออมทรัพย์................. จำกัด แผนการตรวจสอบกิจการประจำปี
การวางแผนการตรวจสอบ สหกรณ์ออมทรัพย์ จำกัด แผนการตรวจสอบกิจการประจำปี สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ รายการ ระยะเวลาการตรวจสอบ ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. การบริหารทั่วไป การเงินการบัญชี การลงทุน สินเชื่อ เงินรับฝาก หนี้สิน ทุนของสหกรณ์

15 ชื่อผู้ตรวจ วันที่ตรวจ
การวางแผนการตรวจสอบ แนวการตรวจสอบกิจการ วัตถุประสงค์การตรวจสอบด้านสินเชื่อ 1. เพื่อให้ทราบว่ามีการกำหนดและปฏิบัติตามระเบียบการให้เงินกู้ 2. เพื่อให้ทราบว่า อ้างอิง วิธีการตรวจสอบ ปริมาณการตรวจสอบ ชื่อผู้ตรวจ วันที่ตรวจ หมายเหตุ 1. ตรวจสอบคณะกรรมการฯได้กำหนดระเบียบการให้เงินกู้เป็นไปตามกฎหมายสหกรณ์และเหมาะสม เดือนกุมภาพันธ์ วรวรรณ 5 ก.พ. xx 2. ตรวจสอบว่ามีการควบคุมภายในเหมาะสมรัดกุมและปฏิบัติตามระบบที่กำหนด 3. ตรวจสอบคำขอกู้ หนังสือสัญญาเงินกู้ หนังสือค้ำประกัน และเอกสารหลักฐานที่ผู้กู้ใช้เป็นหลักประกันกับทะเบียนจ่ายเงินกู้ 4. ตรวจสอบการอนุมัติเงินกู้และการจ่ายเงินกู้

16 วัตถุประสงค์การตรวจสอบ
การวางแผนการตรวจสอบ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ ความมีอยู่จริง สินทรัพย์ หนี้สิน ที่แสดงในงบการเงินมีอยู่จริง ณ วันใดวันหนึ่ง ครบถ้วน ไม่มีสินทรัพย์ หนี้สิน และรายการหรือเหตุการณ์ที่มิได้บันทึกไว้หรือที่มิได้เปิดเผยไว้ สิทธิและภาระผูกพัน สินทรัพย์ หนี้สิน ณ วันใดวันหนึ่ง เป็นของสหกรณ์จริง การแสดงมูลค่า สินทรัพย์ หนี้สิน ได้บันทึกรายการในราคาที่เหมาะสม การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูล บันทึกรายการหรือเหตุการณ์ในจำนวนที่ถูกต้อง บันทึกรายได้หรือค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีที่ถูกต้องเหมาะสม

17 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
* การสังเกตการณ์ * การตรวจสอบเอกสาร * การสอบถาม * การยืนยันยอด * การตรวจนับ * การคำนวณ * การวิเคราะห์เปรียบเทียบ * การตรวจสอบการผ่านรายการ * การหารายการผิดปกติ

18 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ สิ่งที่ต้องระมัดระวัง
การตรวจสอบเอกสาร ตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ ที่สหกรณ์ใช้บันทึกไว้ในสมุดบัญชี ตรวจสอบกรรมสิทธิ์ในสินทรัพย์ วิธีการตรวจสอบ ตรวจสอบรายการบันทึกในสมุดบัญชีกับเอกสารประกอบการบันทึกบัญชี สิ่งที่ต้องระมัดระวัง เป็นเอกสารที่ถูกต้อง เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของสหกรณ์ มีการอนุมัติการจ่าย ได้มีการลงบัญชีถูกต้องตามประเภทบัญชี มีการได้รับสิ่งของหรือบริการโดยถูกต้องแล้ว

19 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การสังเกตการณ์ การดูขั้นตอนหรือวิธีปฏิบัติงาน หรือสภาพที่เป็นจริงให้เห็นด้วยตา เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงที่เป็นอยู่ การแบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบ  ปฏิบัติงานเป็นไปตามระบบการควบคุมภายใน/ระเบียบ การสอบถาม เป็นการหาข้อมูลจากบุคคลที่มีความรู้ทั้งภายในและภายนอกสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องที่สนับสนุนข้อมูลเดิม หรือเป็นข้อมูลใหม่ ซึ่งอาจสอบถามด้วยวาจา หรือเป็นลายลักษณ์อักษร

20 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การควบคุมการยืนยันยอด
การตรวจนับ เป็นการพิสูจน์ปริมาณและคุณภาพของสินทรัพย์ว่า  สินทรัพย์มีอยู่จริง  มีปริมาณที่นับเท่าใด สภาพของสิ่งของที่ตรวจนับ  การเก็บรักษาสินทรัพย์ การยืนยันยอด การขอคำยืนยันยอด เป็นการขอคำตอบเพื่อยืนยันข้อมูลที่มีอยู่ในการบันทึกบัญชี และพิสูจน์ความมีอยู่จริง โดยยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรมาถึงผู้ตรวจสอบกิจการโดยตรง เช่น การยืนยันยอดเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ เจ้าหนี้ เป็นต้น การควบคุมการยืนยันยอด ผู้ตรวจสอบกิจการจะต้องเป็นผู้นำหนังสือใส่ซองและส่งไปรษณีย์ด้วยตนเอง และส่งคำตอบให้ผู้ตรวจสอบกิจการโดยตรง ไม่ผ่านเจ้าหน้าที่

21 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การคำนวณ การตรวจสอบความถูกต้องของตัวเลขในเชิงคำนวณในเอกสารเบื้องต้นและบันทึกทางการบัญชี เช่น การรับฝากเงิน ใบสำคัญรับ xxx ใบส่งเงินฝาก xxx เช่น ทดสอบการคำนวณดอกเบี้ย ค่าเสื่อมราคา เป็นต้น

22 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การวิเคราะห์เปรียบเทียบ
วิเคราะห์ข้อมูลทางการเงินจากความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ทางการเงิน/ข้อมูลอื่น รวมทั้งผลของการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลต่างๆ ว่าเป็นไปตามที่คาดหมาย หรือเป็นไปตามที่ควรจะเป็นหรือไม่ วิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบ 1. เปรียบเทียบข้อมูลของงวดปัจจุบันกับงวดก่อน 2. ผลที่คาดการณ์ไว้ เช่น เปรียบเทียบข้อมูลของงวดปัจจุบัน กับงบประมาณ 3. ข้อมูลของสหกรณ์อื่นที่อยู่ในประเภทและขนาดเดียวกัน 4. มีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด ตรวจสอบหาสาเหตุ

23 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบการผ่านรายการ
การพิสูจน์ความถูกต้องและความครบถ้วนทางบัญชี โดยตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดบัญชีขั้นต้นไปยังสมุดบัญชีขั้นปลาย (แยกประเภท) บัญชีย่อยต่างๆ การจัดทำงบทดลอง และงบการเงิน การหารายการผิดปกติ การตรวจรายการในสมุดขั้นต้น บัญชีแยกประเภทงบทดลอง เช่น ผิดดุลบัญชี ผิดประเภทบัญชี ผิดปกติ - มีสินทรัพย์ถาวรแต่ไม่มีค่าเสื่อมราคา - มีเงินกู้ แต่ไม่มีดอกเบี้ยจ่าย - มีรายการไม่ครบถ้วน - รายการที่มีจำนวนเงินสูงผิดปกติ หรือเกิดขึ้น ช่วงสิ้นปีบัญชี

24 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบกิจการด้านต่าง ๆ
 การตรวจสอบด้านการบริหารทั่วไป  การตรวจสอบด้านการเงิน การตรวจสอบการดำเนินธุรกิจ  การตรวจสอบเงินรับฝาก การตรวจสอบทุนเรือนหุ้น การตรวจสอบเงินลงทุน การตรวจสอบการจัดหาทุน การตรวจสอบด้านบัญชี

25 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านการบริหารทั่วไป

26 การตรวจสอบการบริหารทั่วไป
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบการบริหารทั่วไป ดูข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีหรือผู้ตรวจสอบกิจการคนก่อนๆ การจัดโครงสร้างองค์การ และการแบ่งแยกหน้าที่ ระเบียบ กำหนดไว้ครอบคลุมทุกด้าน ด้านบุคคล/ธุรกิจ ทดสอบการปฏิบัติตามระเบียบที่กำหนดไว้ การทำแผนงาน ประมาณรายได้/รายจ่าย แผนธุรกิจ ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของฝ่ายจัดการ ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์/ทดสอบการปฏิบัติดังกล่าว ตรวจสอบการทำสัญญาจัดจ้างผู้จัดการและเจ้าหน้าที่มีหลักประกันเหมาะสมกับหน้าที่ที่รับผิดชอบ และเป็นปัจจุบัน 26

27 การตรวจสอบการใช้เงินตามประมาณการรายจ่าย
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบการใช้เงินตามประมาณการรายจ่าย วิเคราะห์ประมาณการรายจ่ายจากรายงานประจำปีปีก่อน (รายงานประชุมใหญ่) เปรียบเทียบกับรายจ่ายจริงปีปัจจุบัน วิเคราะห์หาสาเหตุของผลต่างจากการประมาณการและจ่ายจริง วิเคราะห์รายจ่ายที่เกิดขึ้นจริง แต่สหกรณ์ไม่ได้ประมาณการไว้ รายจ่ายที่เกิดขึ้นสม่ำเสมอทุกปี โดยสามารถประมาณการได้ อย่างแน่นอน

28 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การวิเคราะห์การใช้เงินตามประมาณการรายจ่าย ลำดับที่ รายจ่าย ประมาณการรายจ่าย จ่ายจริง ผลต่าง 1 เงินเดือนและค่าจ้าง 300,000.00 290,000.00 10,000.00 2 ค่าล่วงเวลา 50,000.00 48,000.00 2,000.00 3 ค่าน้ำ ไฟ และโทรศัพท์ 4,000.00 3,500.00 500.00 4 ค่าต่อเติมอาคารสำนักงาน 0.00 100,000.00 -100,000.00 5 ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ 5,000.00 4,850.00 150.00 6 ค่าตอบแทนผู้ตรวจสอบกิจการ 12,000.00 7 ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะกรรมการและเจ้าหน้าที่ 20,000.00 30,000.00 -10,000.00 8 ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ 54,000.00 70,000.00 -16,000.00 9 ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 3,000.00 -7,000.00 รวมทั้งสิ้น 448,000.00 568,350.00 -120,350.00

29 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านการเงิน

30 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วิธีการตรวจสอบด้านการเงิน
ดูข้อสังเกตของผู้สอบบัญชีหรือผู้ตรวจสอบกิจการคนก่อนๆ ตรวจสอบระเบียบการรับจ่ายและการเก็บรักษาเงินที่กำหนดไว้ ทดสอบการปฏิบัติตามระเบียบ ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์ด้านการเงิน/ทดสอบการปฏิบัติ เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินฝาก สหกรณ์อื่น วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1. เพื่อทราบว่าเงินสดมีอยู่จริง 2. เพื่อทราบว่าการปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการรับจ่าย และเก็บรักษาเงินสด 3. เพื่อทราบว่ามีการบันทึกบัญชีเรียบร้อยเป็นปัจจุบัน และมีเอกสารหลักฐาน ประกอบการบันทึกบัญชีครบถ้วนสมบูรณ์ และมีการควบคุมการจัดเก็บ เอกสารหลักฐานต่างๆไว้ในที่ปลอดภัย 4. เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีเงินฝากธนาคาร/เงินฝากสหกรณ์อื่น คงเหลือของสหกรณ์ กับธนาคาร/สหกรณ์อื่น

31 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบเงินสดและเงินฝากธนาคารคงเหลือ
รายการตามบัญชีแยกประเภท รายละเอียดปีก่อน ยอดยกมา ณ วันต้นงวด 1 เพิ่มขึ้นระหว่างปี 2 ตรวจสอบเอกสาร/หลักฐานธนาคาร ตรวจตัดยอดเงินสดและ เงินฝากธนาคาร ลดลงระหว่างปี 3 ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด 4 ตรวจนับเงินสด เปรียบเทียบหลักฐานธนาคาร งบทดลอง งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร ขอยืนยันยอดเงินฝากธนาคาร งบการเงิน

32 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบการบันทึกบัญชี
การตรวจตัดยอดเงินสด ตรวจสอบการบันทึกบัญชี ม.ค. - พ.ย. ปีปัจจุบัน งวดที่ตรวจ ธ.ค. ม.ค.ปีใหม่ เอกสาร เอกสาร ปรับปรุงบัญชีผิดงวด

33 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบเอกสารหลักฐานกับการบันทึกบัญชี
การรับเงิน หลักฐานการรับเงิน สลิปรับ/สลิปจ่าย บันทึกบัญชี การจ่ายเงิน/เช็ค หลักฐานการจ่าย สมุดเงินสด/ สมุดรายวันทั่วไป  1. ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ของเอกสารหลักฐาน 3. ตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีกับสลิปรับ - สลิปจ่าย 4. ตรวจสอบการผ่านรายการจากสมุดเงินสดไปสมุดแยกประเภททั่วไป 2. ทดสอบการคำนวณจำนวนเงินในเอกสารหลักฐานการรับ – จ่าย เปรียบเทียบกับสลิปรับ - สลิปจ่าย 5. ตรวจหาความผิดปกติในบัญชีค่าใช้จ่าย สมุดแยกประเภท งบทดลอง - รายจ่ายประจำ - สูงมากผิดปกติ - เคลียบัญชีเงินทดรองจ่าย ค่าเบี้ยเลี้ยงพาหนะนานผิดปกติ - ยอดดุลของบัญชีผิดปกติ

34 สหกรณ์ออมทรัพย์...............................จำกัด
ตรวจนับเงินสดคงเหลือ (เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องยอดบัญชี) สหกรณ์ออมทรัพย์ จำกัด ใบตรวจนับเงินสด เมื่อวันที่ เว น. ,300 …………-….. ธนบัตร : บาท x …… x ……. x ……. เช็ค : วันที่ ธนาคารและเช็คเลขที่ ผู้ออกเช็ค ใบสำคัญ วันที่ ใบสำคัญเลขที่ จ่ายแก่ รวม เงินสดคงเหลือตามบัญชีสมุดสรุปประจำวัน/แยกประเภท ข้อแตกต่าง ได้รับเงินสดและเอกสารแทนตัวเงินคืนแล้ว ผู้เก็บรักษาเงินสด ( ) ผู้ตรวจนับ พยาน ข้อมูลเพิ่มเติม 12 ม.ค. x2 8.00 มากกว่า = เงินสดเกินบัญชี น้อยกว่า = เงินสดขาดบัญชี 11 ม.ค. x2 …….21,300 วงเงินที่เก็บรักษาได้ 20,000. บาท (อธิบายเหตุผลที่เก็บรักษาเงินสดเกินและมีข้อแตกต่าง)

35 ตรวจสอบเงินฝากธนาคาร
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบเงินฝากธนาคาร สหกรณ์ออมทรัพย์ จำกัด งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร...ประเภท...เลขที่บัญชี.. ณ วันที่ ยอดคงเหลือตามใบแจ้งยอดของธนาคาร xxx บวก เงินฝากระหว่างทาง xxx xxx หัก เช็คค้างจ่าย ธนาคาร เลขที่ วันที่ในเช็ค จำนวนเงิน xxx ยอดคงเหลือตามบัญชี xxx เปรียบเทียบรายการรับ–จ่ายในบัญชีเงินฝากธนาคารกับใบแจ้งยอด/สมุดคู่บัญชีธนาคาร ตรวจตัดยอดเงินฝากและถอนเงิน สอบทานงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร - กระทบยอดคงเหลือบัญชีเงินฝากธนาคาร กับใบแจ้งยอด / สมุดบัญชีของธนาคาร ตรวจสอบเงินฝากระหว่างทางกับใบนำฝาก ตรวจสอบรายการเช็คที่สหกรณ์สั่งจ่าย แต่ยังไม่ได้ขึ้นเงิน ขอหนังสือแจ้งยอดเงินฝากธนาคาร/ภาระ ผูกพัน

36 การควบคุมหลักฐานเอกสาร
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การควบคุมหลักฐานเอกสาร 1. สอบทานเอกสารการรับเงินมีการเรียงลำดับเล่ม /เลขที่ไว้ล่วงหน้า 2. สอบทานเอกสารการรับเงินที่ยกเลิกได้นำมาแนบติดไว้กับสำเนา 3. สอบทานการลงลายมือชื่อผู้รับเงินในเอกสารการรับเงิน 4. สอบทานการรับเงินด้วยเช็คจะต้องสั่งจ่ายในนาม “สหกรณ์” ขีดคร่อมและต้องนำฝากเข้าบัญชีของสหกรณ์ ข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้น รับเงินสมาชิกแล้วไม่ออกใบเสร็จรับเงิน/ไม่ ลงบัญชี ถอนเงินฝากธนาคารแล้วไม่ลงบัญชี รับเงินนอกสถานที่แต่ไม่มีการควบคุม ใบเสร็จรับเงินไม่ถูกต้อง

37 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบการดำเนินธุรกิจ
ด้านสินเชื่อ

38 วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1.มีการกำหนดและปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับการให้ เงินกู้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.หลักฐานการให้เงินกู้ การค้ำประกัน และการรับชำระ หนี้มีอยู่ครบถ้วน 3.มีการคำนวณดอกเบี้ยรับ ดอกเบี้ยค้างรับ ค่าปรับค้าง รับและบันทึกบัญชีโดยถูกต้อง ตามรอบระยะเวลาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 4.การประมาณจำนวนเงินที่จะเก็บจากลูกหนี้ได้และ ความเหมาะสมของค่าเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ 5.ลูกหนี้เงินกู้คงเหลือมีตัวตนอยู่จริง 6.มีการบันทึกบัญชีด้านสินเชื่อถูกต้องครบถ้วน

39 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ประเภทลูกหนี้และหลักฐานการเป็นหนี้
1. ลูกหนี้เงินกู้ 2. ลูกหนี้อื่นๆ หลักฐานการกู้ การอนุมัติ การรับเงิน หนังสือสัญญา มติหรือการอนุมัติ การรับเงิน

40 ประเภทลูกหนี้และหลักฐานการเป็นหนี้(ต่อ)
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ประเภทลูกหนี้และหลักฐานการเป็นหนี้(ต่อ) 3. ลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง 2. เมื่อสหกรณ์ได้รับชำระหนี้จากลูกหนี้ตัวแทนในแต่ละหน่วย 2.1 กรณีได้รับชำระครบตามจำนวนที่ส่งให้ตัวแทนหักเงิน เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร (ตามแต่กรณี) xxx เครดิต บัญชีลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง xxx 2.2 กรณีได้รับชำระไม่ครบตามจำนวน ที่ส่งให้ตัวแทนหักเงิน ให้ยกเลิก ใบเสร็จรับเงินที่คืนมานั้นทั้งหมดแล้วออก ใบเสร็จรับเงินฉบับใหม่สำหรับลูกหนี้รายที่ หักชำระได้ บันทึกบัญชี โดย เดบิต บัญชีเงินสด/เงินฝากธนาคาร (ตามแต่กรณี) xxx บัญชีลูกหนี้เงินกู้…(ระบุประเภท)… xxx บัญชีดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ xxx บัญชีค่าธรรมเนียมแรกเข้า xxx บัญชีทุนเรือนหุ้น xxx เครดิต บัญชีลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง xxx * เป็นลูกหนี้ที่สหกรณ์ได้มอบหมายให้บุคคลในหน่วยต่าง ๆ ทำหน้าที่ หักเงินจากสมาชิกเพื่อนำส่งสหกรณ์ ทุกเดือน ได้แก่ เงินค่าหุ้นรายเดือน เงินงวดชำระหนี้ ค่าธรรมเนียมแรกเข้าที่เรียกเก็บจากสมาชิกเข้าใหม่และอื่น ๆ 1. เมื่อสหกรณ์ส่งเอกสารฯ ให้ตัวแทนเพื่อทำการ หักเงินของสมาชิก สหกรณ์จะบันทึกบัญชีโดย เดบิต บัญชีลูกหนี้ตัวแทนหักเงินส่ง xxx เครดิต บัญชีลูกหนี้เงินกู้… xxx บัญชีดอกเบี้ยรับจากเงินให้กู้ xxx บัญชีค่าธรรมเนียมแรกเข้า xxx บัญชีทุนเรือนหุ้น xxx * คำแนะนำกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ พ.ศ. 2547 40

41 วิธีการตรวจสอบการให้สินเชื่อ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วิธีการตรวจสอบการให้สินเชื่อ สอบทานการปฏิบัติตามระเบียบ ตรวจสอบยอดยกมา ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน ตรวจสอบการจ่ายเงินกู้ ตรวจสอบการรับชำระหนี้ เปรียบเทียบยอด การตรวจสอบการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ตรวจสอบการตัดจำหน่ายหนี้สูญ การยืนยันยอด

42 ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ การแบ่งแยกหน้าที่ ทำความเข้าใจระเบียบการให้เงินกู้ ประเภทเงินให้กู้ วงเงินสินเชื่อ หลักประกัน คุณสมบัติ อัตราดอกเบี้ย วันที่ประกาศใช้ เงินกู้ฉุกเฉิน ไม่เกิน 30,000 บาท บุคคล เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า 6 เดือน 6 1 ม.ค. 60 เงินกู้สามัญ ไม่เกิน บาท บุคคล/หลักทรัพย์ เป็นสมาชิกไม่น้อยกว่า ...เดือน เงินกู้พิเศษ หลักทรัพย์ ตรวจสอบการปฏิบัติตามระเบียบ

43 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบลูกหนี้เงินกู้
ทดสอบยอดยกมาปีก่อน ยอดยกมา ณ วันต้นงวด เพิ่มขึ้นระหว่างปี ตรวจสอบการจ่ายเงินกู้ ตรวจสอบการรับชำระหนี้ ลดลงระหว่างปี เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อยกับบัญชีคุมยอด ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด งบทดลอง สอบทานหนี้ลูกหนี้เงินกู้ งบการเงิน

44 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
คำขอกู้เงิน วันที่ 15 มิถุนายน 2555 เสนอ คณะกรรมการดำเนินการ ข้าพเจ้า นางมั่นคง มุ่งมั่น สมาชิกเลขที่ 99 อยู่บ้านเลขที่......ขอเสนอคำขอกู้และรายละเอียดดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้าพเจ้าขอกู้เงินจำนวน 100,000 บาท วัตถุประสงค์เพื่อ ลงชื่อ มั่นคง มุ่งมั่น หลักฐานการให้เงินกู้ ตรวจดู ชื่อ-นามสกุล ตรวจดู จำนวนเงินที่กู้ ตรวจดู วันที่กู้ บันทึกการอนุมัติเงินกู้ ตามรายงานการประชุมครั้งที่ 5 วันที่ 25 มิ.ย. 55 กำหนดวงเงินจำนวน 100,000 บาท และให้ชำระคืนเสร็จภายในวันที่ เสนอ ใจดี ประธานในที่ประชุม สมศรี งามตา เลขานุการ หนังสือกู้เงิน วันที่ 1 กรกฎาคม 2555 เสนอ คณะกรรมการดำเนินการ ข้าพเจ้า นางมั่นคง มุ่งมั่น สมาชิกเลขที่ 99 อยู่บ้านเลขที่......ขอทำหนังสือกู้ ให้ไว้แก่สหกรณ์ เพื่อเป็นหลักฐานดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ข้าพเจ้าขอกู้เงินจำนวน 100,000 บาท วัตถุประสงค์เพื่อ ลงชื่อ มั่นคง มุ่งมั่น

45 ตรวจสอบหลักฐานการค้ำประกันให้เงินกู้
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบหลักฐานการค้ำประกันให้เงินกู้ ความถูกต้องครบถ้วนและเหมาะสมของหลักประกัน - การค้ำประกันด้วยบุคคล - การค้ำประกันด้วยอสังหาริมทรัพย์ ตรวจสอบ บุคคลผู้ค้ำประกัน ตรวจสอบ โฉนดที่ดิน หนังสือสัญญาจำนอง ที่ดินเป็นประกัน คำขอกู้ หนังสือค้ำประกัน

46 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
 ความสมบูรณ์ของเอกสาร  ทดสอบการคำนวณ ดอกเบี้ย ค่าปรับ ตรวจสอบหลักฐานการรับชำระหนี้ การตรวจสอบการบันทึกบัญชี  การบันทึกรายการในสมุดสรุปประจำวัน  การผ่านรายการไปยังสมุดรวมบัญชีทั่วไป (แยกประเภท)  การผ่านรายการไปยังบัญชีย่อยรายตัว

47 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบบัญชีย่อยลูกหนี้รายตัว
 การบันทึกแผ่นบัญชีย่อยเป็นปัจจุบัน เปรียบเทียบยอดรวมของบัญชีย่อยลูกหนี้เงินกู้กับบัญชีคุมยอดลูกหนี้ในสมุดรวมบัญชีทั่วไป/สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป เกิดข้อคลาดเคลื่อน/การผิดพลาดทางบัญชี/หรือเกิดผลต่าง ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

48 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ลูกหนี้คลาดเคลื่อน หมายถึง ผลต่างระหว่างยอดรวมของบัญชีย่อยลูกหนี้กับ บัญชีคุมยอดลูกหนี้ ให้ถือจำนวนเงินในบัญชีย่อยเป็นหลัก บัญชีย่อยคลาดเคลื่อนต่ำกว่า/สูงกว่าบัญชีคุมยอด ให้ค้นหาสาเหตุข้อคลาดเคลื่อนแก้ไข ปรับปรุงบัญชี ต่ำกว่า หาผู้รับผิดชอบ สูงกว่า เดบิต ลูกหนี้เงินกู้ เครดิต ค่าเผื่อลูกหนี้เงินกู้คลาดเคลื่อน

49 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ชำระหนี้ได้ตามกำหนด ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันไม่เกิน 3 เดือน ขอผ่อนเวลาชำระหนี้ ฟ้องดำเนินคดี ลูกหนี้ปกติ ชำระได้ ตามปกติ ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันเกิน 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน ได้รับการผ่อนเวลาการชำระหนี้ ต่ำกว่ามาตรฐาน ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันเกิน 6 เดือน แต่ไม่เกิน 12 เดือน ได้ฟ้องดำเนินคดี ไม่สามารถชำระได้ปกติ จัด ชั้นสงสัย ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

50 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ค้างชำระต้นเงินและหรือดอกเบี้ยติดต่อกันเกิน 12 เดือน ตามพฤติการณ์ไม่สามารถเรียกให้ชำระหนี้ ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องและสหกรณ์ยื่นคำขอเฉลี่ยทรัพย์ สหกรณ์ได้ฟ้องเป็นคดีล้มละลาย หรือหนี้ที่สหกรณ์ได้ยื่นคำขอรับ ชำระหนี้ในคดีที่ลูกหนี้ถูกเจ้าหนี้รายอื่นฟ้องในคดีล้มละลาย จัด ชั้นสงสัย จะสูญ ถึงแก่ความตาย/สาบสูญ/หายสาบสูญ เจ้าหนี้อื่นมีบุริมสิทธิ์เหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ ถูกฟ้องล้มละลายไม่มีทรัพย์สินใดชำระหนี้ได้ ประนอมหนี้ในคดีล้มละลาย หรือศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย ไม่สามารถชำระหนี้ได้โดยสิ้นเชิง จัด ชั้นสูญ ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

51 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การสอบทานการตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
ทดสอบการประมาณการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ - ลูกหนี้จัดชั้นต่ำกว่ามาตรฐาน ร้อยละ 20 - ลูกหนี้จัดชั้นสงสัย ร้อยละ 50 - ลูกหนี้จัดชั้นสงสัยจะสูญ/จัดชั้นสูญ ร้อยละ 100 นำต้นเงินและดอกเบี้ยที่ได้รับชำระหลังวันสิ้นปีบัญชี แต่ก่อนวันที่ผู้สอบบัญชีแสดงความเห็นต่องบการเงิน มาหักออกได้จากต้นเงินและดอกเบี้ยเงินให้กู้ค้างรับ นำมูลค่าหลักประกันมาหัก - มูลค่าหุ้นของผู้กู้ ร้อยละ 100 - หลักประกันที่เป็นสิทธิ ร้อยละ 100 - หลักประกันอื่น ไม่เกินร้อยละ 50 ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

52 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบการตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้
สอบทานว่าเป็นหนี้ที่สามารถตัดหนี้สูญได้ตามระเบียบ  หนี้ที่เกิดจากการประกอบกิจการ  มีหลักฐานชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้  มีหลักฐานการติดตามทวงถามหรือมีการฟ้องคดีแล้ว แต่ไม่ได้รับการชำระหนี้  ลูกหนี้ถูกศาลพิพากษาให้เป็นบุคคลล้มละลาย  หนี้ที่เกิดจากการทุจริตหรือความบกพร่องในการดำเนินการ ของกรรมการ/เจ้าหน้าที่ของสหกรณ์/บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในสหกรณ์ ต้องมีการติดตามทวงถามจนถึงที่สุดหรือมีการ ฟ้องคดีแล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้ 52

53 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สอบทานการตัดหนี้สูญ กรณีลูกหนี้แต่ละรายมีจำนวนหนี้รวมกันไม่เกิน 30,000 บาท ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ได้ ถ้าปรากฏหลักฐานมีการติดตามทวงถามแต่ไม่ได้รับชำระหนี้ และหากฟ้องเสียค่าใช้จ่าย ไม่คุ้มกับหนี้ ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจำนวน กำหนดวาระการประชุมใหญ่เรื่องการตัดจำหน่ายหนี้สูญพร้อมทั้งสรุปเรื่องโดยย่อแจ้งเป็นหนังสือให้ สมาชิก ไม่น้อยกว่า 7 วัน ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่โดยมีคะแนนเสียงเกินกว่า กึ่งหนึ่งของสมาชิกที่มาประชุม ให้บันทึกไว้ในรายการประชุมใหญ่ด้วยว่า การอนุมัติตัดจำหน่ายหนี้สูญเป็นเพียงการปฏิบัติ ทางบัญชีเท่านั้น มิได้เป็นการระงับซึ่งสิทธิเรียกร้อง จากผู้ต้องรับผิดชอบต่อสหกรณ์แต่อย่างใด 53

54 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การยืนยันยอดลูกหนี้เงินกู้
เลือกบัญชีลูกหนี้เงินกู้ที่จะส่งยืนยันยอด ขอรายละเอียดบัญชีลูกหนี้เงินกู้ที่เลือกขึ้นมา ตรวจสอบความถูกต้องของรายละเอียดของหนังสือยืนยันยอดก่อนส่ง กรณีหนังสือยืนยันยอดส่งคืนโดยไปรษณีย์ ให้ขอที่อยู่ที่ถูกต้องและส่งอีกครั้ง กรณีมีข้อทักท้วง ให้ตรวจสอบผลต่างที่ลูกหนี้แจ้งมาโดยเร็ว และให้สหกรณ์สอบสวนหาข้อเท็จจริง รวมทั้งติดตามการแก้ไข ไม่สามารถส่งหนังสือยืนยันยอด หรือไม่ได้หนังสือยืนยันยอดคืนจากลูกหนี้ให้ใช้วิธีการตรวจสอบอื่นแทน ดังนี้ ตรวจสอบการรับชำระหนี้ภายหลังวันที่ขอยืนยันยอด ตรวจสอบหลักฐานการเป็นหนี้และการลงลายมือชื่อรับเงินกู้ 54

55 ตรวจสอบการคำนวณเงินเฉลี่ยคืนและการจ่ายเงินเฉลี่ยคืน
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบการคำนวณเงินเฉลี่ยคืนและการจ่ายเงินเฉลี่ยคืน  ตรวจสอบการจ่ายเงินเฉลี่ยคืนเป็นไปตามกฎหมายและมติที่ประชุมใหญ่  ทดสอบการคำนวณเงินเฉลี่ยคืนว่าถูกต้องครบถ้วนและสัมพันธ์กับยอดรวมดอกเบี้ยเงินให้กู้  ตรวจสอบการลงลายมือชื่อสมาชิกผู้รับเงิน ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

56 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ระเบียบและคำแนะนำที่เกี่ยวข้องกับลูกหนี้ - ระเบียบ นทส.ว่าด้วย การบัญชีของสหกรณ์ พ.ศ. 2560 - คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ลูกหนี้ พ.ศ. 2547 - ระเบียบ นทส. ว่าด้วยการจัดชั้นคุณภาพลูกหนี้เงินกู้และการเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ พ.ศ. 2544 - ระเบียบ นสส. ว่าด้วย การตัดจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ฯ พ.ศ. 2546 - ระเบียบสหกรณ์เกี่ยวกับการให้เงินกู้

57 ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากธุรกิจสินเชื่อ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นจากธุรกิจสินเชื่อ การให้สินเชื่อไม่เป็นไปตามระเบียบ ไม่บันทึกบัญชีหนี้ที่เก็บได้ ไม่ส่งมอบหรือ ประวิงการส่งมอบหนี้ที่เก็บได้ บัญชีคุมยอดและรายละเอียดลูกหนี้ มี ข้อผิดพลาด การบันทึกบัญชีย่อยลูกหนี้เงินกู้ ไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วนไม่เป็นปัจจุบัน ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไม่เพียงพอ ลูกหนี้ถูกตัดเป็นหนี้สูญ โดยไม่ได้รับอนุมัติ จากที่ประชุมใหญ่

58 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านเงินรับฝาก

59 วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1.เพื่อให้ทราบว่าการรับฝากเงินจากสมาชิกเป็นไปตาม ระเบียบว่าด้วยการรับฝากเงิน 2.เพื่อให้ทราบว่าการรับฝากเงินมีการจัดทำเอกสารหลักฐาน ตามขั้นตอนต่างๆ ครบถ้วน 3.เพื่อให้ทราบว่าการปฏิบัติงานของคณะกรรมการและ เจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการรับฝากเงินเป็นไปอย่างเหมาะสม รัดกุม และมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ 4.การคำนวณดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝากเป็นไปตามระเบียบที่ สหกรณ์กำหนด 5.เพื่อสรุปผลการตรวจสอบ รวมทั้งข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ต่อที่ประชุมเพื่อการปรับปรุงแก้ไขและการพัฒนาสหกรณ์ วิธีการตรวจสอบด้านเงินรับฝาก 1. ตรวจสอบการกำหนดระเบียบ & ข้อกำหนด อ่านระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ รายงานการประชุมใหญ่ และรายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ให้ทราบถึงวิธีการปฏิบัติในการรับฝากเงิน เงื่อนไขการรับฝากเงิน เช่น ประเภทของเงินรับฝาก วงเงินรับฝาก อัตราดอกเบี้ย เป็นต้น

60 วิธีการตรวจสอบด้านเงินรับฝาก (ต่อ)
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วิธีการตรวจสอบด้านเงินรับฝาก (ต่อ) 2. การปฏิบัติงานของสหกรณ์. เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด ตรวจสอบการเปิดบัญชีเงินฝาก การรับฝาก การถอนเงิน หนังสือขอเปิดบัญชีเงินฝาก/ตัวอย่างลายมือชื่อ/ ใบนำฝาก/บันทึกรายการ/สมุดคู่ฝาก การเปิดบัญชี การถอนเงิน การรับฝาก ใบถอนเงินรับฝาก>ลายมือชื่อ/ บันทึกรายการ/สมุดคู่ฝาก ใบนำฝาก/ บันทึกรายการ/สมุดคู่ฝาก

61 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ทดสอบการคำนวณดอกเบี้ย/วิเคราะห์บัญชีย่อย/
ขอคำยืนยันยอด . เลือกตัวอย่างที่จะทดสอบ/คำนวณดอกเบี้ย ตามระเบียบหรือประกาศของสหกรณ์ ทดสอบการ คำนวณดอกเบี้ย ขอคำ ยืนยันยอด วิเคราะห์ บัญชีย่อย . ส่งหนังสือยืนยันยอด . สอบทานโดยตรง . จำนวนเงินสูง/ปริมาณบัญชีมีมาก/รายการไม่เคลื่อนไหว/ ปิดบัญชีก่อนวันสิ้นปีทางบัญชี/ความสัมพันธ์กับดอกเบี้ย

62 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ตรวจสอบการบันทึกบัญชี
 เป็นปัจจุบัน/ไม่เป็นปัจจุบัน  มีเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีครบถ้วน มีการจัดทำบัญชีย่อยเงินรับฝากถูกต้อง มีการเปรียบเทียบตรงกับบัญชีคุม

63 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านทุนเรือนหุ้น

64 วัตถุประสงค์การตรวจสอบ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วัตถุประสงค์การตรวจสอบ 1.มีการกำหนดและปฏิบัติตามระเบียบเกี่ยวกับทุนเรือนหุ้นอย่างมีประสิทธิภาพ 2.หลักฐานการเป็นสมาชิก การรับเงินค่าหุ้น การลาออก การจ่ายคืนค่าหุ้นมีอยู่ครบถ้วน 3.ทุนเรือนหุ้นคงเหลือมีอยู่จริง และบันทึกบัญชีถูกต้องตามระเบียบและคำแนะนำที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด วิธีการตรวจสอบทุนเรือนหุ้น 1. ตรวจสอบการกำหนดระเบียบ & ข้อกำหนด อ่านระเบียบ ข้อบังคับของสหกรณ์ รายงานการประชุมใหญ่และรายงานการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ให้ทราบถึง วิธีการปฏิบัติเงื่อนไขในการรับสมาชิก ประเภทและคุณสมบัติของสมาชิก การส่งชำระค่าหุ้น ค่าธรรมเนียมแรกเข้า และ การลาออกจากการเป็นสมาชิก

65 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
วิธีการตรวจสอบทุนเรือนหุ้น 2. การปฏิบัติงานของสหกรณ์. เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด หนังสือขอสมัครเป็นสมาชิก/การอนุมัติ/ การชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า/การจัดทำทะเบียนสมาชิก การรับสมาชิก การลาออก การเพิ่ม-ลดหุ้น หนังสือแจงความจำนง/ การตรวจสอบหนี้สิน ภาระค้ำประกัน การอนุมัติ/การจ่ายคืนค่าหุ้น หนังสือแจ้งเพิ่ม-ลด/ การอนุมัติ/การบันทึกบัญชีย่อยรายตัว

66 วิเคราะห์บัญชีย่อย/ขอคำยืนยันยอด ตรวจสอบการบันทึกบัญชี
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วิเคราะห์บัญชีย่อย/ขอคำยืนยันยอด ขอคำยืนยันยอด วิเคราะห์ บัญชีย่อย . ส่งหนังสือยืนยันยอด . สอบทานโดยตรง . จำนวนเงินสูง/ปริมาณบัญชีมีมาก/รายการไม่เคลื่อนไหว/ ปิดบัญชีก่อนวันสิ้นปีทางบัญชี/ความสัมพันธ์กับดอกเบี้ย เป็นปัจจุบัน / ไม่เป็นปัจจุบัน มีเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีครบถ้วน มีการจัดทำบัญชีย่อยทุนเรือนหุ้นถูกต้อง และมีการเปรียบเทียบตรงกับบัญชีคุม ตรวจสอบการบันทึกบัญชี

67 ตรวจสอบทุนเรือนหุ้น ทดสอบยอดยกมาปีก่อน ยอดยกมา ณ วันต้นงวด
ตรวจสอบการรับเงินค่าหุ้น ตรวจสอบการลาออก เปรียบเทียบยอดรวมบัญชีย่อย กับบัญชีคุมยอด ยืนยันยอดสมาชิก ยอดยกมา ณ วันต้นงวด เพิ่มขึ้นระหว่างปี ลดลงระหว่างปี ยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นงวด งบทดลอง งบการเงิน

68 ข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น
การรับสมาชิกไม่เป็นไปตามระเบียบ ไม่บันทึกบัญชีทุนเรือนหุ้น บันทึก บัญชีไม่ครบถ้วน บัญชีคุมยอดและรายละเอียดประกอบ มีข้อผิดพลาด การบันทึก ทะเบียนหุ้นไม่ถูกต้อง ไม่ครบถ้วนไม่ เป็นปัจจุบัน สมาชิกไม่มีตัวตนอยู่จริง

69 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านเงินลงทุน

70 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านเงินลงทุน
กฎหมาย/ข้อบังคับ/ระเบียบ/ประกาศการลงทุนที่กำหนด ประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) ประกาศ/มติที่ประชุมของสหกรณ์ด้านการลงทุน ทดสอบการปฏิบัติกฎหมาย ข้อบังคับ ฯลฯ ความเสี่ยง/ผลตอบแทนที่ได้รับคุ้มค่ากับการลงทุน

71 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.)
เงินลงทุน หมายถึงหลักทรัพย์ตามกฎหมายและตามประกาศของ คพช. ที่สหกรณ์ถือไว้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้รับผลประโยชน์ในรูปของ รายได้ (เช่น ดอกเบี้ย/เงินปันผล) หรือในรูปของประโยชน์อย่างอื่น ที่สหกรณ์ได้รับ อาจเป็นเงินลงทุนที่สหกรณ์ตั้งใจถือไว้ชั่วคราว โดยจะขายเมื่อมีความต้องการเงินสด หรือตั้งใจถือไว้เป็นระยะเวลานาน เพื่อให้ได้รับผลตอบแทน ประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ (คพช.) พ.ร.บ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 +

72 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบด้านเงินลงทุน
เพื่อให้แน่ใจว่า 1. มีการปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการลงทุน และมติที่ประชุม คณะกรรมการดำเนินการ 2. เงินลงทุนมีอยู่จริง และเป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ 3. การตีราคาเงินลงทุนเป็นไปตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์กำหนด 4. ความเหมาะสมในการลงทุน

73 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
เงินลงทุน ฝากในชุมนุมสหกรณ์ หรือสหกรณ์อื่น ฝากในธนาคารหรือสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์  ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ซื้อหุ้นของธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือ ทางการเงินแก่สหกรณ์  ซื้อหุ้นของชุนนุมสหกรณ์ หรือสหกรณ์อื่น ซื้อหุ้นของสถาบันที่ประกอบธุรกิจ อันทำให้เกิดความ สะดวกหรือส่งเสริมความเจริญแก่กิจการของสหกรณ์ โดยได้รับความเห็นชอบจาก นทส. ฝาก หรือลงทุนอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการพัฒนา การสหกรณ์แห่งชาติกำหนด เช่น ตราสารสิทธิมีอันดับ ความน่าเชื่อถือตั้งแต่ระดับ A- ขึ้นไป เป็นต้น การปฏิบัติตาม พ.ร.บ. สหกรณ์/ ประกาศคณะกรรมการพัฒนา การสหกรณ์แห่งชาติ / มติที่ประชุมใหญ่/คณะกรรมการ

74 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ตรวจสอบการจัดซื้อหลักทรัพย์เป็นไปตาม พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. 2542 และมติของที่ประชุมเกี่ยวกับการมอบอำนาจในการจัดซื้อและ วงเงินที่จัดซื้อแต่ละครั้ง ตรวจดูหลักฐานการซื้อหลักทรัพย์ ให้ถูกต้องตรงกับยอดคงเหลือตามบัญชี และตรวจสอบเป็นกรรมสิทธิ์ของสหกรณ์ ทดสอบการคำนวณดอกเบี้ยรับ หรือผลตอบแทนจากการลงทุนที่ครบกำหนด/ ไถ่ถอนคืน/ขายระหว่างปี ตรวจสอบการบันทึกบัญชีและการผ่านรายการซื้อหลักทรัพย์/ผลตอบแทน และไถ่ถอนคืน หรือขายหลักทรัพย์จากสมุดเงินสดไปบัญชีแยกประเภททั่วไป เปรียบเทียบยอดรวมหลักทรัพย์คงเหลือตามทะเบียนคุมหลักทรัพย์ให้ตรงกับ บัญชีคุมยอด

75 ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ดิน อาคาร และ อุปกรณ์ สินทรัพย์ที่มีตัวตนที่สหกรณ์มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการ ผลิต เพื่อใช้ในการจำหน่ายสินค้า หรือใช้บริการเพื่อให้เช่า หรือเพื่อใช้ในการบริหารงาน ซึ่งคาดว่าจะใช้ประโยชน์ มากกว่าหนึ่งรอบปีบัญชี การได้มา  ซื้อ  สร้างสินทรัพย์ขึ้นใช้เอง

76 วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีอยู่จริงและครบถ้วน 2. มีการควบคุมเก็บรักษาอย่างปลอดภัยโดยไม่มีการสูญหายหรือทุจริต 3. การเพิ่มขึ้น การตัดจำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์มีการอนุมัติ 4. รายการบัญชีที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เช่น ค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคาสะสม และดอกเบี้ยจ่ายที่บันทึกเป็นทุนของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เป็นต้น วิธีการตรวจสอบที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สอบทานยอดยกมาที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบการซื้อ/การจำหน่ายที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบการคำนวณค่าเสื่อมราคา ตรวจนับเอกสารโฉนดที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ตรวจสอบรายได้จากการให้เช่าสินทรัพย์ ตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการบัญชีของสหกรณ์ พ.ศ. 2560 ส่วนมาตรฐานการสอบบัญชี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

77 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านการจัดหาทุน

78 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ การตรวจสอบด้านการจัดหาทุน
กรณีสหกรณ์มีการจัดหาเงินทุนด้วยวิธีการกู้ยืม การปฏิบัติตามข้อบังคับและวงเงินตามที่ได้รับ ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ความสามารถในการชำระหนี้ เงินกู้ตามวัตถุประสงค์แห่งเงินกู้ ฯลฯ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์

79 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การตรวจสอบด้านบัญชี

80 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
วงจรบัญชีสหกรณ์ออมทรัพย์ คำนวณยอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภทเพื่อทำงบทดลอง งบทดลอง สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป สมุดรายวันทั่วไป งบกำไรขาดทุน งบดุล งบกระแสเงินสด เอกสาร ผ่านรายการ บันทึกรายการ ปรับปรุงรายการ ปิดบัญชี สมุดเงินสด เริ่มจาก 80

81 สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป
- ใบสำคัญจ่ายเงิน หนังสือค้ำประกันเงินกู้สามัญ - ใบถอนเงินฝากออมทรัพย์ คำขอกู้เงินที่ใช้หุ้นประกัน - ใบถอนเงินฝากประจำ หนังสือกู้เงินที่ใช้หุ้นประกัน - คำขอกู้เงินและหนังสือสัญญากู้เงินเพื่อเหตุฉุกเฉิน - คำขอกู้เงินพิเศษ - คำขอกู้เงินสามัญ หนังสือกู้เงินพิเศษ - หนังสือกู้เงินสามัญ ใบรับเงินกู้ - ใบเสร็จรับเงิน - ใบส่งเงินฝากออมทรัพย์ - ใบส่งเงินฝากประจำ สลิปโอน สลิปรับ สมุดเงินสด สลิปจ่าย สมุดรายวันทั่วไป สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป - ทะเบียนสมาชิก - ทะเบียนหุ้น - ทะเบียนเครื่องเขียนแบบพิมพ์ - ทะเบียนที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - ทะเบียนหลักประกัน - ทะเบียนหนังสือกู้เงินเพื่อเหตุฉุกเฉิน ทะเบียนหนังสือกู้เงินสามัญ และหนังสือค้ำประกัน - ทะเบียนหนังสือกู้เงินพิเศษ - ทะเบียนคุมยอดลูกหนี้เงินให้สมาชิกกู้ - ทะเบียนการรับเงินงวดชำระหนี้ - บัญชีย่อยลูกหนี้เงินให้กู้ (ตามประเภท : ฉุกเฉิน สามัญ พิเศษ ) - บัญชีย่อยลูกหนี้อื่น ๆ - บัญชีย่อยเจ้าหนี้เงินรับฝาก (ตามประเภท : ออมทรัพย์ ประจำ) - บัญชีย่อยเจ้าหนี้เงินกู้ - บัญชีย่อยเจ้าหนี้อื่น ๆ งบทดลอง งบการเงิน -งบแสดงฐานะการเงิน - งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด หมายเหตุประกอบงบการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์

82 เล่มที่ เลขที่ สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ใบเสร็จรับเงิน วันที่ เดือน พ.ศ ได้รับเงินจาก สมาชิก/มิใช่สมาชิก เลขทะเบียน กลุ่มที่ อยู่บ้านเลขที่ หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ตามรายการดังต่อไปนี้ ที่ที่ รายการ จำนวนเงิน (ตัวอักษร) รวม ใบเสร็จรับเงินนี้จะสมบูรณ์ต่อเมื่อนำเช็คขึ้นเงินเรียบร้อยแล้ว ผู้รับเงิน ผู้จัดการ 82

83 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ เข้าบัญชีของผู้กู้แล้ว
เลขที่ สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ใบรับเงินกู้ ตามหนังสือกู้เงินระยะ ที่ วันที่ เดือน พ.ศ ตามที่ข้าพเจ้า สมาชิกเลขทะเบียน กลุ่มที่ ได้ทำหนังสือกู้ดังระบุข้างบนซึ่งขอเบิกรับเงินกู้เป็นคราวๆ นั้น ในวันนี้ข้าพเจ้าได้รับเงินกู้จากสหกรณ์แล้ว จำนวนเงิน บาท(ตัวอักษร) เข้าบัญชีของผู้กู้แล้ว วันที่ เจ้าหน้าที่ ผู้รับเงิน 83

84 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ใบส่งเงินฝากออมทรัพย์ (โปรดยื่นพร้อมด้วยสมุดคู่ฝาก) วันที่ ส่งเงินเข้าบัญชีฝากออมทรัพย์ เลขที่ ชื่อ บาท ส.ต. เงินสด (ตัวอักษร) บาท รวม ผู้ส่งเงินฝาก ผู้ตรวจและรับเงิน พนักงานบัญชี 84

85 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด ใบถอนเงินฝากออมทรัพย์ (ต้องยื่นพร้อมด้วยสมุดคู่มือบัญชี) สมุดคู่มือบัญชีเลขที่ วันที่ ขอถอนเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ชื่อ บาท (ตัวอักษร) บาท (ตัวเลข) ลงลายมือชื่อของผู้มีอำนาจตามที่ได้ให้ตัวอย่างลายมือไว้ ข้าพเจ้ามอบอำนาจให้ (ระบุชื่อเต็ม) ได้รับเงินถูกต้องแล้ว ผู้มีลายมือชื่อข้างล่างนี้ รับเงินแทน (ต้องลงลายมือชื่อต่อเจ้าหน้าที่) ผู้มอบอำนาจ จ่ายวันที่ / / ลายมือชื่อผู้รับมอบอำนาจ เจ้าหน้าที่ ผู้จัดการ 85

86 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด เลขที่ ใบสำคัญรับ เงินสด บาท เช็ค บาท บาท รับจาก วันที่ เดือน พ.ศ ประเภทบัญชี รวมทั้งสิ้น ลงบัญชี ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ 86

87 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด เลขที่ ใบสำคัญจ่าย เงินสด บาท เช็ค บาท บาท จ่ายให้ วันที่ เดือน พ.ศ ประเภทบัญชี รวมทั้งสิ้น ลงบัญชี ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ 87

88 ใบโอนบัญชี วันที่......... เดือน.............. พ.ศ..............
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ สหกรณ์ สำนักงาน หมู่ที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด เลขที่ ใบโอนบัญชี วันที่ เดือน พ.ศ ประเภทบัญชี หน้า เดบิต เครดิต บัญชี คำอธิบาย ลงบัญชี ตรวจสอบ ผู้อนุมัติ 88

89 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ตัวอย่าง สมุดเงินสด เดบิต เครดิต ว.ด.ป. เลขที่ สลิปรับ รายการ หน้า บัญชี จำนวนเงิน สลิปจ่าย รวมรับ ,000 เงินสดคงเหลือยกมา รวมทั้งสิ้น ,000 รวมจ่าย ,200 เงินสดคงเหลือยกไป ,800 รวมทั้งสิ้น ,000 25xx xx ม.ค ทุนเรือนหุ้น , ม.ค ลูกหนี้ระยะสั้น ,000 ค่าเบี้ยเลี้ยง 89

90 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
ตัวอย่าง สมุดรายวันทั่วไป เลขที่ สลิปโอน หน้า บัญชี ว.ด.ป. รายการ เดบิต เครดิต 25xx ธ.ค ฝากธนาคารกรุงไทย ,000 ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ,000 90

91 สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป วัน รายการ หน้า จำนวนเงิน เดือน ปี บัญชี หรือ วัน รายการ หน้า เดบิต เครดิต คงเหลือ เดือน ปี บัญชี 91

92 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
รายการปรับปรุงบัญชี 92

93 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การจัดทำรายการปรับปรุงบัญชี เหตุ รายการบัญชีที่เกิดขึ้นระหว่างงวด อาจมีรายการที่คาบเกี่ยวกับงวดบัญชีถัดไป หรือ ยังไม่ได้มีการบันทึกบัญชี ผล เพื่อให้ผลการดำเนินงาน & ฐานะการเงิน ของแต่ละงวดบัญชีใกล้เคียงกับความเป็นจริง ที่สุด 93

94 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
รายการปรับปรุงบัญชี ค่าใช้จ่ายล่วงหน้า รายได้รับล่วงหน้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้ค้างรับ ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ ค่าเสื่อมราคา 7. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 8. สำรองบำเหน็จเจ้าหน้าที่ 9. ลูกหนี้คลาดเคลื่อน 10. เงินสดขาดบัญชี 11. สินค้าขาดบัญชี 12. ค่าตัดจ่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 94

95 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สหกรณ์ จำกัด งบทดลอง วันที่ ที่ ชื่อบัญชี หน้า บัญชี ยอดยกมา เดบิต เครดิต ระหว่างเดือน ยอดยกไป 1 เงินสด , , ,800 2 เงินฝาก B , ,000 3 ลูกหนี้ , ,000 ทุนเรือนหุ้น , ,000 ดอกเบี้ย B , ,000 6 ค่าเบี้ยเลี้ยง , , , ,000 95

96 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
งบทดลอง รายงานทางการเงินที่แสดงยอดคงเหลือของทุกบัญชี ในสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ณ วันใดวันหนึ่ง เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องของการบันทึกรายการบัญชี ตามหลักการบัญชีคู่ จำนวนเงินรวมของบัญชีที่มี ยอดคงเหลือด้านเดบิต ต้องเท่ากับ จำนวนเงินรวม ของบัญชีที่มียอดคงเหลือด้านเครดิต 96

97 ข้อสังเกตในการอ่านงบทดลอง
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ข้อสังเกตในการอ่านงบทดลอง 1. ยอดคงเหลือของบัญชีแสดงผิดปกติ 2. ค่าใช้จ่ายที่มีการจ่ายคงที่เท่ากันทุก เดือน 3. มีการลดลงของบัญชีรายได้ 4. กระทบยอดบัญชีแล้วผลลัพธ์ไม่ตรงกับ ยอดคงเหลือในงบทดลอง 5. การซื้อสินค้าไม่สัมพันธ์กับรายการขาย สินค้า 6. ลูกหนี้ไม่เคลื่อนไหว 7. มีรายการเพิ่มในบัญชีสินทรัพย์ถาวรโดย ไม่ผ่านการอนุมัติจาก ผู้มีอำนาจ

98 ข้อสังเกตการจัดทำงบทดลอง
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ข้อสังเกตการจัดทำงบทดลอง ลงบัญชีผิดประเภท ด้วยจำนวนเงินที่เท่ากันทั้งด้านเดบิต และด้านเครดิต ละเว้นไม่บันทึกบัญชี ด้วยจำนวนเงินที่เท่ากันทั้งด้านเดบิต และด้านเครดิต ผ่านรายการบัญชีจากสมุดขั้นต้นไปบัญชีแยกประเภททั่วไป สลับด้านกัน ทำให้การกระทบยอดคงเหลือชดเชยกันไป บันทึกจำนวนเงินผิดพลาดเท่ากันทั้งด้านเดบิตและเครดิต

99 ประโยชน์ และข้อจำกัดของงบทดลอง
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ ประโยชน์ และข้อจำกัดของงบทดลอง ประโยชน์ ทุกรายการได้บันทึก เดบิต เครดิตด้วยจำนวน เงินเท่ากัน ยอดคงเหลือได้มีการ คำนวณอย่างถูกต้อง การรวมยอดคงเหลือ อย่างถูกต้อง ข้อจำกัด ไม่ได้รับประกันความ ถูกต้องของรายการ ไม่ได้รับประกันความ ครบถ้วนของรายการที่ บันทึก

100 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
การจัดทำงบการเงิน 100

101 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
101

102 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
102

103 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
103

104 สหกรณ์ออมทรัพย์............................จำกัด งบกระแสเงินสด
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ สหกรณ์ออมทรัพย์ จำกัด งบกระแสเงินสด สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ และ...... ปี บาท ปี บาท กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป)จากกิจกรรมดำเนินงาน กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป)จากกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป)จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสด ณ วันต้นปี เงินสด ณ วันสิ้นปี 104 104

105 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
105

106 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
106

107 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
107

108 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
108

109 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน - สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบรายการใน งบการเงิน - ข้อมูลเพิ่มเติมที่ไม่ได้แสดงในงบการเงิน 109

110 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ คู่มือการจัดทำงบการเงิน
110

111 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน - สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ ข้อมูลเพิ่มเติมประกอบรายการใน งบการเงิน - ข้อมูลเพิ่มเติมที่ไม่ได้แสดงในงบการเงิน 111

112 สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน
เทคนิคการตรวจสอบกิจการ สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ 112

113 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน คือเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าอาจจะมีความเสี่ยงที่จะเกิดการทุจริตและข้อผิดพลาดในองค์กร การทุจริต หมายถึง การจงใจหรือเจตนาแสดงตัวเลข/เปิดเผย/ปกปิด/ ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง เช่น การยักย้าย การปลอมแปลง การปกปิดละเว้น ข้อผิดพลาด หมายถึง การแสดงตัวเลข/เปิดเผยข้อมูลผิดพลาด หลงลืมโดยมิได้ตั้งใจ เช่น การคำนวณผิด มองข้ามข้อเท็จจริง 113

114 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน 1. การไม่กำหนดนโยบายและแนวทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน 2. ไม่มีการแบ่งแยกหน้าที่ให้เพียงพอและเหมาะสม โดยเฉพาะในจุด การควบคุมที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง 3. ผู้บริหารปฏิบัติตนอยู่เหนือระบบการควบคุมภายในซึ่งเป็นเหตุแห่ง ความล้มเหลวของระบบการควบคุมภายใน หรือผู้บริหารรวบอำนาจไว้ 4. การให้ความไว้วางใจหรือให้อำนาจแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งมากเกินไป ซึ่งจะเป็นเหตุให้บุคคลนั้นทำรายการผิดพลาดโดยเจตนาได้ 5. การเพิ่มขึ้นหรือลดลงอย่างผิดปกติของรายจ่ายหรือรายได้ โดยไม่สามารถอธิบายความแตกต่างได้จากการวิเคราะห์เปรียบเทียบตัวเลขในงบการเงิน 114

115 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน 6. พนักงานไม่ยอมใช้สิทธิลาพักผ่อนประจำปี ซึ่งอาจเป็นสัญญาณว่าพนักงานคนนั้นไม่เต็มใจที่จะลางานเนื่องจากเกรงว่าผู้ที่มาทำหน้าที่แทนจะพบข้อผิดพลาดของตนที่ได้ปกปิดไว้ 7. ผลประโยชน์และความสัมพันธ์ส่วนตัว เช่น ความสัมพันธ์อันใกล้ชิดระหว่างพนักงานสินเชื่อกับการเงิน การมีญาติหรือผู้ใกล้ชิดทำงานในที่เดียวกันที่อาจจะช่วยเหลือกันปกปิดการทุจริตและข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น 8. ขาดกระบวนการในการคัดเลือกพนักงานใหม่อย่างรอบคอบ 9. ปัญหาด้านเอกสารหรือการหาหลักฐาน - มีรายการที่ไม่ได้รับการอนุมัติหรือหลักฐานการอนุมัติไม่สมบรูณ์ - เอกสารหายหรือเอกสารทำไม่เสร็จภายในเวลา - เอกสารมีร่องรอยการแก้ไขเป็นประจำ 115

116 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน 9. ปัญหาด้านเอกสารหรือการหาหลักฐาน (ต่อ) - รายการค้างนาน ซึ่งไม่สามารถอธิบายได้ในงบกระทบยอดโดยเฉพาะรายการเงินสดหรือสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง - ยอดแตกต่างระหว่างบัญชีย่อยกับบัญชีคุมยอดที่ไม่สามารถอธิบายได้ - รายการปรับปรุงเกี่ยวกับทรัพย์สิน เช่น ลูกหนี้ที่ไม่สามารถอธิบายสาเหตุ ของการปรับปรุงได้ - ใช้สำเนาเอกสารแทนที่จะใช้ต้นฉบับ - ไม่มีเอกสารประกอบรายการ - ความแตกต่างระหว่างบัญชีกับหนังสือยืนยันจากบุคคลภายนอก เช่น ธนาคาร เจ้าหนี้ ฯลฯ - การตอบปัญหาของฝ่ายบริหารต่อคำถามในมีลักษณะไม่สมเหตุสมผลและตอบแบบหลีกเลี่ยงไม่ตรงประเด็น 116

117 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน 10. ปัญหาด้านการควบคุมอื่น ๆ - การใช้ Password ร่วมกัน หรือเปิดเผย Password ให้คนอื่นทราบ - ไม่มีการควบคุมเอกสารแบบฟอร์มที่ใช้ เช่น สมุดเช็ค ใบเสร็จรับเงิน ฯลฯ - การควบคุมดูแล และการตรวจนับวัสดุ ครุภัณฑ์ ไม่มีประสิทธิภาพ มีผลต่างระหว่างยอดตามบัญชีกับยอดที่ตรวจนับเป็นจำนวนมาก และการกระทบยอดผลการตรวจนับเป็นไปอย่างล่าช้า - มีรายการคงค้างอยู่ในบัญชีตั้งพัก อยู่เป็นจำนวนสูงโดยไม่มี การติดตามหาสาเหตุเพื่อปรับปรุงบัญชีให้ถูกต้องภายในเวลาอันควร - มีลูกหนี้ค้างชำระนาน โดยไม่มีการติดตาม - พนักงานรับเงิน มีหน้าที่ลงบัญชีสมุดเงินสดรับ นำเงินเข้าฝากธนาคาร จัดทำงบกระทบยอดเงินฝากธนาคาร และลงบัญชีลูกหนี้รายตัว 117

118 เทคนิคการตรวจสอบกิจการ
สิ่งบอกเหตุของการทุจริตหรือสัญญาณเตือน 11. สัญญาณเตือนอื่น ๆ เช่น - สภาพแวดล้อมในที่ทำงานไม่มีความสามัคคี - โครงสร้างองค์กรและการแบ่งแยกหน้าที่ไม่มีความเหมาะสม - พนักงานทำงานล่วงเวลามากเกินไป พนักงานขาดความรู้ความชำนาญในหน้าที่งาน พนักงานไม่มีความจงรักภักดี ขวัญและกำลังใจตกต่ำ - พนักงานมีหนีสิ้นเป็นจำนวนมาก - พนักงานติดการพนัน 118

119 สวัสดี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคการตรวจสอบกิจการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google