งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานพัสดุ สินทรัพย์ วัสดุ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานพัสดุ สินทรัพย์ วัสดุ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานพัสดุ สินทรัพย์ วัสดุ

2 สินทรัพย์ การขึ้นทะเบียนสินทรัพย์
๑.๑. กรณีครุภัณฑ์ได้มาจากการจัดซื้อ จัดจ้าง และเป็นเงินงบประมาณแผ่นดิน จะต้องทำการขึ้นทะเบียนครุภัณฑ์ในระบบ GFMIS ก่อน ซึ่งจะทำให้ได้เลขทะเบียนครุภัณฑ์จากระบบ GFMIS (แต่ถ้าครุภัณฑ์ได้มาจากการรับบริจาคหรือซื้อจากเงินนอกงบฯ ไม่ต้องขึ้นทะเบียนในระบบ GFMIS) ๑.๒. บันทึกขึ้นทะเบียนครุภัณฑ์ในระบบ e-office ๑.๓. พิมพ์บาร์โค้ด สำหรับติดที่ตัวครุภัณฑ์

3 การขึ้นทะเบียนสินทรัพย์

4 การขึ้นทะเบียนสินทรัพย์

5 พิมพ์บาร์โค้ด

6 แจ้งซ่อมสินทรัพย์ ๒.๑ เมื่อครุภัณฑ์ชำรุดเสียหายไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ เจ้าหน้าที่ผู้ถือครอง/ผู้รับผิดชอบ จะต้องทำการบันทึกแจ้งซ่อมครุภัณฑ์ เพื่อเสนอ หัวหน้างานพิจารณาเห็นชอบ ๒.๒ เจ้าหน้าที่บริหารงานพัสดุ ตรวจสอบอาการเสียหายของครุภัณฑ์ที่หน่วยงานต่างๆ แจ้งซ่อมมา - กรณีที่สามารถซ่อมเองได้โดยศูนย์ซ่อม ไม่ต้องเสนอพิจารณาอนุมัติ โดยให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ซ่อมทำการซ่อมและบันทึกประวัติการซ่อมครุภัณฑ์ได้เลย - กรณีที่จำเป็นต้องจัดจ้างซ่อม เจ้าหน้าที่บริหารงานพัสดุ จะประเมินราคามูลค่าซ่อมครุภัณฑ์จากบริษัท/ร้านค้าที่จะทำการจ้างซ่อมครุภัณฑ์ก่อนที่จะบันทึกขออนุมัติซ่อม และเสนอ ผู้รับผิดชอบงานบริหารพัสดุ ๒.๓ ผู้รับผิดชอบงานบริหารพัสดุ พิจารณาเห็นชอบ และเสนอ ผอ.รร. ๒.๔ เมื่อ ผอ.รร. อนุมัติซ่อมแล้ว เจ้าหน้าที่บริหารงานพัสดุ ทำการจัดจ้างซ่อมและทำการตรวจรับการซ่อม ๒.๕ เจ้าหน้าที่บริหารงานพัสดุ ทำการบันทึกประวัติการซ่อมครุภัณฑ์

7 การแจ้งซ่อมสินทรัพย์

8 การแจ้งซ่อมสินทรัพย์

9 ตัดจำหน่ายครุภัณฑ์ ๓.๑. เจ้าหน้าที่บริหารงานพัสดุ บันทึกขออนุมัติตัดจำหน่ายครุภัณฑ์ ตามรายการที่ผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการพิจารณาการตัดจำหน่ายครุภัณฑ์แล้ว ตามประเภทการจำหน่าย เช่น ขายทอดตลาด, ทำลาย, บริจาค, โอน (กรณีจำหน่ายโดยการโอน จะต้องระบุหน่วยงานรับโอนด้วย) และเสนอ ผู้รับผิดชอบงานบริหารพัสดุ พิจารณาเห็นชอบ ๓.๒. ผู้รับผิดชอบงานบริหารพัสดุ ที่รับผิดชอบงานบริหารพัสดุ พิจารณาเห็นชอบ และเสนอต่อ ผอ.รร. ๓.๓. กรณีเป็นการตัดจำหน่ายโดยวิธีการโอน หน่วยงานที่รับโอนจะต้องทำการบันทึกรับโอนครุภัณฑ์เพื่อสร้างเลขทะเบียนครุภัณฑ์ใหม่ในหน่วยงานของตนเองด้วย

10 การแจ้งซ่อมสินทรัพย์

11 การแจ้งซ่อมสินทรัพย์

12 วัสดุ การนำวัสดุเข้าคลัง
๑.๑ เจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ ตรวจสอบความถูกต้องของวัสดุ ตามรายการใบตรวจรับวัสดุ ๑.๒ เจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ ทำการบันทึกนำวัสดุเข้าคลัง เพื่อปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง (จะมีการกำหนดคลังวัสดุของตนเอง)

13 นำวัสดุเข้าคลัง

14 นำวัสดุเข้าคลัง

15 นำวัสดุเข้าคลัง

16 การเบิกวัสดุ ๒.๑. เจ้าหน้าที่ ที่ต้องการเบิกวัสดุ บันทึกขอเบิกวัสดุ เพื่อเสนอ หัวหน้างาน พิจารณาเห็นชอบ ๒.๒. หัวหน้างาน พิจารณารายการที่มีการแจ้งเข้ามาและบันทึกใบขอเบิกวัสดุ เพื่อเสนอ เจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ ตรวจสอบและตัดเบิกจ่ายวัสดุคงเหลือในคลัง ๒.๓. เจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ พิจารณาการขอเบิกวัสดุและทำการตัดยอดเบิกจ่ายวัสดุในคลัง ๒.๔. เมื่อเจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ ทำการบันทึกการตัดยอดเบิกจ่ายวัสดุแล้ว จะมีการแจ้งมาที่ผู้ขอเบิกและหัวหน้างาน ให้ทราบ ๒.๕. เจ้าหน้าที่ผู้ขอเบิกพิมพ์ใบแบบฟอร์มการเบิกวัสดุ เพื่อให้ หัวหน้างาน เซ็นรับรอง เพื่อนำมายื่นขอรับวัสดุจากเจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ

17 การขอเบิกวัสดุ

18 การขอเบิกวัสดุ

19 การขอเบิกวัสดุ

20 การปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง
๓.๑. เจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ ตรวจสอบรายการวัสดุที่ต้องปรับปรุงเพิ่ม-ลดยอดคงเหลือในคลัง เช่น วัสดุในคลังเกิดชำรุดเสียหาย ซึ่งจะต้องบันทึกลดยอดวัสดุในคลัง เป็นต้น ๓.๒. เจ้าหน้าที่บริหารคลังวัสดุ ทำการบันทึกปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง เพื่อให้ยอดวัสดุคงเหลือในคลังถูกต้องตรงกับวัสดุที่มีอยู่จริง

21 การปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง

22 การปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง

23 การปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง

24 การปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง

25 การปรับปรุงยอดวัสดุคงเหลือในคลัง

26 การขอเบิกวัสดุ

27 การขอเบิกวัสดุ


ดาวน์โหลด ppt งานพัสดุ สินทรัพย์ วัสดุ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google