COE2010-14: ป้ายรถเมล์อัจฉริยะ Smart Bus Stop โดย นางสาวนันทนา วลีขจรเลิศ 503040236-3 นางสาวกฤษวรรณ พิมพ์ดี 503040758-3
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ดร.วสุ เชาว์พานนท์ อาจารย์ผู้ร่วมประเมินโครงการ ดร.ชัชชัย คุณบัว ดร.วิชชา เฟื่องจันทร์
รายละเอียดการนำเสนอ อุปกรณ์ที่นำมาใช้ในโครงการ การออกแบบและสร้างต้นแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโครงการ แผนการดำเนินงาน/สรุปความคืบหน้าของโครงการ
อุปกรณ์ที่นำมาใช้ในโครงการ Xbee Serie2 Pro Microcontroller PIC16F877 LED Matrix 8x5
การออกแบบและสร้างต้นแบบ ศึกษาเส้นทางเดินรถโดยสารของมหาวิทยาลัยขอนแก่น (Shuttle Bus) การออกแบบ Bus Stop Interface การออกแบบวงจร การออกแบบส่วนการทำงานของโปรแกรม
ศึกษาเส้นทางเดินรถโดยสาร (Shuttle Bus) เส้นทางเดินรถสายสีแดง
ศึกษาเส้นทางเดินรถโดยสาร (ต่อ) 2. เส้นทางเดินรถสายสีส้ม
ศึกษาเส้นทางเดินรถโดยสาร (ต่อ) 3. เส้นทางเดินรถสายสีเหลือง
ศึกษาเส้นทางเดินรถโดยสาร (ต่อ) 4. เส้นทางเดินรถสายสีน้ำเงิน
การออกแบบ Bus Stop Interface
การออกแบบวงจร 1. การออกแบบวงจร Microcontroller PIC16F877 ต่อกับ LED Matrix 8x5
การออกแบบวงจร (ต่อ) 2. การออกแบบวงจร Xbee
การออกแบบส่วนการทำงานของโปรแกรม ออกแบบเครือข่ายหรือส่วนการสื่อสารข้อมูลผ่านทาง Zigbee
การส่ง Packet แบบ API Command จาก Coordinator API ไปยัง Router API
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาโครงการ 1. โปรแกรม X-CTU 2. โปรแกรม Eagle 3. โปรแกรม MPLAB 4. โปรแกรม WinPic800
ความคืบหน้าของโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ 2553 2554 มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 1. ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของ Zigbee, Xbee 2. ศึกษาโปรแกรมที่นำมาใช้ในโครงการและสำรวจเส้นทางเดินรถโดยสารทุกสาย 3. ออกแบบป้ายแสดงผล 4. ออกแบบวงจรของป้ายแสดงผล 5. ออกแบบเครือข่ายหรือส่วนการสื่อสารข้อมูลผ่าน Zigbee 6. วิเคราะห์สิ่งที่ออกแบบเพื่อตรวจดูความเป็นไปได้และความถูกต้อง 7. สร้างและทดสอบระบบย่อยทั้งทางเน็ทเวิร์ค, โปรแกรม 8. ทดสอบระบบโดยรวมและปรับปรุงแก้ไข 9. วิเคราะห์และสรุปผลการทดสอบและวิเคราะห์ต้นทุนในการลงทุน 10. เขียนรายงานผลการดำเนินโครงการ
Q&A