งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ อ.นวภัค เอื้ออนันต์ โดย นางสาวชลธิดา หลงพลอยพัด รหัส นางสาวเสาวภาคย์ จำปาทอง รหัส

2 ความสำคัญและที่มาของโครงการ
ในสถานีไฟฟ้าย่อยทุกแห่งต้องมีเครื่องบันทึกข้อมูลประจำเพื่อเก็บค่าทางไฟฟ้า เครื่องบันทึกข้อมูลในสถานีไฟฟ้าย่อยในปัจจุบันเป็นเครื่องบันทึกข้อมูลชนิดกระดาษต่อเนื่อง เล็งเห็นว่าควรนำเครื่องบันทึกข้อมูลดิจิตอลมาแทนที่

3 วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพื่อพัฒนาเครื่องต้นแบบของอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิตอล แก้ปัญหาเรื่องอุปกรณ์บันทึกข้อมูลเชิงกลที่ล้าสมัยของสถานีไฟฟ้าย่อย

4 ขอบเขตของโครงการ สร้างเครื่องบันทึกข้อมูลที่สามารถบันทึกค่าทางไฟฟ้าของสายส่งได้อย่างน้อย 1 สาย เครื่องมือที่พัฒนา มีโหมดการทำงาน 2 โหมด เป็นอย่างน้อย คือ การบันทึกข้อมูลในสภาวะปกติ การบันทึกข้อมูลในสภาวะผิดปกติ เครื่องที่พัฒนาสามารถตรวจจับความผิดปกติ เบื้องต้นของสายส่งและรายงานให้ผู้ใช้ทราบได้ ปกติ – watt VAR volt amp ประมาณ 5-10 point/s , ผิดปกติ – waveform ของ volt ,amp 3000sample/s

5 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
Data Logger รูป : แสดงการทำงานของ Data Logger

6 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
การศึกษา Lab VIEW หลักการทำงานของ Lab VIEW Acquisition เป็นส่วนที่รับข้อมูล (Input) จากภายนอกเข้าสู่ระบบ เมื่อได้รับข้อมูลแล้วจะผ่านการวิเคราะห์ข้อมูล Presentation คือ การแสดงผลโดยอาจแสดงผลบนหน้าจอคอมพิวเตอร์

7 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
การศึกษา Lab view (ต่อ) รูป : แสดงภาพตัวอย่างโปรแกรม LabVIEW

8 ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ต่อ)
การเก็บข้อมูลจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต รูป : เครื่องบันทึกข้อมูลที่ใช้ในสถานีไฟฟ้าย่อย

9 การออกแบบ ในการออกแบบนั้น ได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ การออกแบบฮาร์ดแวร์
การออกแบบซอฟต์แวร์

10 รูป : การออกแบบฮาร์ดแวร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถเชื่อมต่อกับการ์ดรับส่งข้อมูลได้ การ์ดรับส่งข้อมูลซึ่งเป็น DAQ Card วงจรปรับสภาพสัญญาณ รูป : การออกแบบฮาร์ดแวร์ วงจรปรับสภาพสัญญาณ

11 การออกแบบซอฟต์แวร์ รูป : การออกแบบซอฟต์แวร์
2. ทำหน้าที่บันทึกเวฟฟอร์ม ณ ปัจจุบันกับอดีต ช้อมูลใหม่ทับเก่าไปเรื่อยๆ (บันทึกแค่ชั่วขณะ) มี signal processing รูป : การออกแบบซอฟต์แวร์

12 การพัฒนาโปรแกรม การพัฒนาโปรแกรมแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้
การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์

13 การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์
การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ แบ่งเป็น 4 ส่วนคือ การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจรรับและแยกสัญญาณ การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจร 3Phase Power Analysis การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจร Alarm การทำงานของโปรแกรมในส่วนของวงจร Save File

14 การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ)
รูป : แสดงวงจรรับและแยกสัญญาณ

15 การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ)
รูป : แสดงวงจร 3Phase Power Analysis

16 การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ)
1 2 3 รูป : แสดงวงจร Alarm แบบต่างๆ

17 การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ)
รูป : แสดงวงจร Save File ในแบบปกติ

18 การพัฒนาด้านซอฟต์แวร์(ต่อ)
รูป : แสดงวงจร Save File ในแบบผิดปกติ

19 การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์
การออกแบบวงจรลงในโปรแกรม Eagle 5.2.0 Supply Voltage sensor Current sensor กัดแผ่นปริ้น และต่อวงจร นำวงจรไปทดสอบ

20 การพัฒนาด้านฮาร์ดแวร์(ต่อ)
รูป : แสดงวงจร

21 ระบบของเครื่องบันทึกข้อมูลที่ได้
รูป : ระบบของเครื่องบันทึกข้อมูล

22 ผลการทำงานของโปรแกรม
หน้าต่างหลักในการแสดงผล หน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะปกติ หน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะผิดปกติ

23 ผลการทำงานของโปรแกรม (ต่อ)
รูป : ตัวอย่างผลการทำงานในหน้าต่างหลักในการแสดงข้อมูล

24 ผลการทำงานของโปรแกรม (ต่อ)
รูป : ตัวอย่างผลการทำงานในหน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะปกติ

25 ผลการทำงานของโปรแกรม (ต่อ)
รูป : ตัวอย่างผลการทำงานในหน้าต่างเพื่อเรียกดูข้อมูลในสภาวะผิดปกติ

26 สรุป ได้ปรับปรุงเครื่องบันทึกข้อมูลที่ใช้ในสถานีไฟฟ้าย่อยให้ดียิ่งขึ้น จากเดิมที่ใช้แบบกระดาษต่อเนื่อง ได้พัฒนาเป็นแบบดิจิทัล ซึ่งสามารถบันทึกค่าทางไฟฟ้าของสายส่งได้อย่างน้อย 1 สาย ( 6 ช่องสัญญาณ โดย 3 ช่องสัญญาณใช้สำหรับวัดค่าแรงดันไฟฟ้า และอีก 3 ช่องสัญญาณวัดค่ากระแสไฟฟ้า)

27 ปัญหาและอุปสรรค ผู้จัดทำโครงการไม่มีประสบการณ์ในการใช้โปรแกรม LabVIEW มาก่อน ทำให้ต้องทำการศึกษาใหม่และใช้เวลานานเพราะโปรแกรมมีความซับซ้อนและมีหลายฟังก์ชัน โครงการนี้เป็นโครงการที่ต้องใช้ความรู้ทางไฟฟ้าทั้งในการเขียนโปรแกรมและการทำวงจรไฟฟ้า ซึ่งผู้จัดทำโครงการไม่มีความชำนาญ ทำให้เกิดความสับสนและเกิดข้อสงสัยในทางไฟฟ้า

28 คำถามและข้อเสนอแนะ


ดาวน์โหลด ppt เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google