หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถิติ
Advertisements

เปรียบเทียบครุศาสตร์อุตสาหกรรมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  
ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
พุทธศาสนาเถรวาท รหัสวิชา หมู่ 1.
สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป ณ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
โครงการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมจีนระยะสั้น ณ ม.ชนชาติกวางสี
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25..
หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
แนะนำรายวิชา GED40003 คอมพิวเตอร์กับชีวิต
กับการสร้างหน่วยการเรียนรู้
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
เนื้อหา (กลางภาค) พฤติกรรมมนุษย์ การขัดเกลาทางสังคม
วิสัยทัศน์ “คณะศึกษาศาสตร์เป็นองค์กรผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา ชั้นนำในระดับภูมิภาคอาเซียนโดยใช้วิจัยเป็นฐานในบริบทสังคม พหุวัฒนธรรม”
ปฐมนิเทศนักศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต Doctor of Philosophy
หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร
“ทฤษฎีและปฎิบัติ สร้างสรรค์และวิจัย การละครร่วมสมัย”
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
การรับเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ. ศ
ยินดีต้อนรับ คณะผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ร่วมพิจารณา ร่างหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร 27 กรกฎาคม.
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จากนโยบาย... สู่การปฏิบัติ
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
โดย รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์
จิตวิทยากับองค์กรธุรกิจอุตสาหกรรม
Future Agriculture Wullop Santipracha March 2008.
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ครูโรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา หลักสูตรใหม่ พ. ศ คณะ / วิทยาลัย
การคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่ออุดมศึกษา ปีการศึกษา 2553
1. ชื่อสถาบัน ให้ระบุชื่อ สถาบันการศึกษา คณะวิชา และภาควิชาที่เปิดสอน หลักสูตร 2. ชื่อหลักสูตร ให้ระบุชื่อ หลักสูตรและสาขาวิชาให้ ชัดเจน แบบรายงานข้อมูลการ.
การสอบ GAT และ PAT.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เล่าสู่กันฟัง ๑ อำเภอ ๑ โรงเรียนในฝัน
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จัดทำโดย นางสาว นุชธิดา เนียรศิริ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
ร่างตารางเปรียบเทียบ หลักสูตร พ. ศ กับหลักสูตร ปรับปรุง พ. ศ หลักสูตรศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการ สอนภาษาไทย.
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การยกระดับคุณภาพ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์
การปฐมนิเทศ โดย แผนกศึกษา รร.พจ.ยศ.ทร.
หน่วย ๑ ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
เลขหมู่และการจัดเรียงบนชั้น
กราบนมัสการ พระปริยัติสารเวที,ดร. คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
ยินดีต้อนรับ อาจารย์และ นักศึกษาผู้สนใจ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม ชั้น 4 อาคารเฉลิมพระ เกียรติ 72 พรรษา โทร
โรงเรียนพรหมานุสรณ์จังหวัดเพชรบุรี
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
สาระที่ควรปรับปรุงเร่งด่วนของเขตพื้นที่การศึกษา ชั้น ม.3.
การพัฒนาผลการเรียนรู้ในรายละเอียด ของรายวิชาระดับอุดมศึกษา
Post-Structuralism or Nothing แนวการสอนรายวิชา สังคมวิทยาชนบทและเมือง Rural and Urban Sociology 3 (3-0) 
คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์กายภาพทั้ง 6 ภาคของไทย และสภาวะแวดล้อมต่างๆ ศึกษาภัยธรรมชาติต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดลักษณะเฉพาะหรือปรากฏการณ์ในพื้นที่
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
ชื่อหลักสูตร หลักสูตร บัณฑิต สาขาวิชา Bachelor of ……. Program in ………….
โรงเรียนคุณภาพ สพท.ชัยภูมิ เขต 3
รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)
การใช้ข้อสอบกลางในการ สอบปลายปี
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักสูตรการศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม พ.ศ.2548 เนื้อหา 1. กลุ่มวิชาภาษา กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และกลุ่มวิชา วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 2. ต้องเรียนไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต และเรียนรายวิชาให้ครบทุกกลุ่ม

โครงสร้าง กลุ่มภาษา 9 หน่วยกิต ก. วิชาบังคับ (9 หน่วยกิต) 1. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 2. ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3. ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการอ่าน ข. วิชาเลือก (6 หน่วยกิต) 1. ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 2. ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสาร 3. ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 4. ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงสังคมและวัฒนธรรม 5. ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารเชิงสังคมและวัฒนธรรม 6. ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสารเชิงสังคมและวัฒนธรรม 7. สนทนาภาษาจีนในการทำงาน 8. สนทนาภาษาญี่ปุ่นในการทำงาน 9. สนทนาภาษาเกาหลีในการทำงาน

กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6 หน่วยกิต ก. วิชาบังคับ 6 หน่วยกิต 1. จริยธรรมและทักษะชีวิต 2. วิถีไทยและวิถีโลก ข. วิชาเลือก 6 หน่วยกิต 1. สุนทรียศาสตร์แห่งชีวิต 2. จิตวิทยาและการพัฒนาตน 3. มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 4. ทวารวดีศึกษา 5. กฎหมายในชีวิตประจำวัน

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต ก. วิชาบังคับ 6 หน่วยกิต 1. สารสนเทศและเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 2. การคิดและการตัดสินใจ ข. วิชาเลือก 6 หน่วยกิต 1. วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต 2. วิทยาศาสตร์การกีฬาและ นันทนาการ 3. คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 4. เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน 5. เทคโนโลยีสารสนเทศ

นักศึกษาทุกสาขาเลือกอีก 3 หน่วยกิต

หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป ม.ธรรมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552) หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป ม.ธรรมศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2552) นักศึกษาต้องศึกษาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต ตามโครงสร้างและองค์ประกอบของหลักสูตรศึกษาทั่วไปซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นหลักสูตรกลางของมหาวิทยาลัย นักศึกษาทุกคน ต้องเรียน (21 หน่วยกิต) ส่วนที่ 2 เป็นหลักสูตรของแต่ละคณะ (9 หน่วยกิต) รวม 30 หน่วยกิต

ส่วนที่ 1 เป็นหลักสูตรกลาง นักศึกษาทุกคนต้องเรียน (21 หน่วยกิต) ส่วนที่ 1 เป็นหลักสูตรกลาง นักศึกษาทุกคนต้องเรียน (21 หน่วยกิต) 1. สหวิทยาการมนุษยศาสตร์ (3 หน่วยกิต) 2. สหวิทยาการสังคมศาสตร์ (3 หน่วยกิต) 3. สหวิทยาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (3 หน่วยกิต) 4. คณิตศาสตร์หรือคอมพิวเตอร์ (บังคับเลือก 1 วิชา) (3 หน่วยกิต) 5. การใช้ภาษาไทย (3 หน่วยกิต) 6. ภาษาต่างประเทศ บังคับ 1 ภาษา 2 วิชา (6 หน่วยกิต) บางคณะอาจกำหนดให้นักศึกษาเลือกเรียนภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาอังกฤษ จีน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น รัสเซีย เยอรมัน เกาหลี เป็นต้น

ส่วนที่ 2 เป็นหลักสูตรของแต่ละคณะ (9 หน่วยกิต) นักศึกษาเลือกศึกษาตามข้อกำหนดของแต่ละคณะ หรือเลือกรายวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปส่วนที่ 2 ใน 5 กลุ่มของวิชาบูรณาการดังนี้ ( 3 วิชา 9 หน่วยกิต) 1. หมวดมนุษยศาสตร์ เช่น ความรู้พื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา พัฒนาการของโลกสมัยใหม่ ภูมิทัศน์วัฒนธรรมไทย เป็นต้น 2. หมวดสังคมศาสตร์ เช่น มนุษย์กับสังคม กฎหมายในชีวิตประจำวัน

ส่วนที่ 2 เป็นหลักสูตรของแต่ละคณะ (ต่อ) 3. หมวดวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เช่น มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน สถิติพื้นฐาน รากฐานคณิตศาสตร์ เป็นต้น 4. หมวดภาษา เช่น การเขียนรายงานวิชาการ การเขียนเพื่อการสื่อสาร ในองค์กร หรือภาษาต่างประเทศเพิ่มเติม 1 วิชา 5. หมวดพลานามัย เช่น โยคะเพื่อสุขภาพ ศิลปะป้องกันตัว นันทนาการ การเจริญสติและฝึกสมาธิ ว่ายน้ำ เทนนิส เป็นต้น