ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้เสนอ นางประภัสสร แก้วประสาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
Advertisements

พัฒนศักดิ์ จิณะวงค์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาการบัญชีเบื้องต้น 2 โดยใช้ชุดฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ ผู้วิจัย ถาวร ประรงค์ทอง.
นางสาวอ้อมใจ ยิ้มสอาด แผนกการตลาด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางสาวปุณณภา ฉัตรเดชาพล
ผู้วิจัย อาจารอุบลรัตน์ น้อยสำแดง
สุนันทา โสรณสุทธิ์ ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ชื่อเรื่อง ศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเศรษฐศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะการท่องจำเบื้องต้นของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ของนักศึกษา ปวส. 1 สาขาการบัญชี โดยชุดการสอน ผู้วิจัย นางนพรัตน์ สุวรรณโณ.
นางลัดดาวรรณ คงพูล อาจารย์ประจำสาขาวิชาสามัญและพื้นฐาน
LOGO.  สำหรับผู้ที่เรียนในสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนั้น หลักการ เขียนโปรแกรมเป็นอีกรายวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนต้องมีความรู้และ ความเข้าใจ เพื่อให้ในการพัฒนาโปรแกรมและเพื่อนำไป.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
นางสาวทศพร ปินตาสม วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
ผู้วิจัย การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ VDO ช่วยสอน
นางบัววิไล แก้วอู๋ ผู้วิจัย
นางสาวรัฏฐภรณ์ เหล็กไหล
นางสาวสาวิตรี โยธาจันทร์ คณะบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
นายศุภพล มงคลเจริญพันธ์
ปัญหาการวิจัย : 1. การพัฒนาของ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อเป็น แนวทางการศึกษาแบบใหม่ 2. พัฒนาทักษะและชักจูงความ สนใจของนักศึกษาให้สนใจต่อการ เรียนให้มากขึ้น.
ชื่อเรื่อง ผลการใช้เทคนิคการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ของการเรียนวิชางานวัดละเอียดช่างยนต์ของนักศึกษาชั้น ปวช.2 สาขางานยานยนต์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย นายธีรภัทร พึ่งเนตร
นายมงคล ธัญฤชุพงศ์ ผู้วิจัย
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจกลุ่ม 821
อาจารย์อัครชัย ปัญญาคม
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ ด้วยวิธี เพื่อนช่วยเพื่อน ผู้วิจัย นาง นุสรา ปิยะศาสตร์ ตำแหน่ง ครูผู้สอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา.
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
นำเสนอโดย นางสาวพัชรี นาคทอง
กิตติญา ยังเจริญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
อาจารย์ประจำสาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
สมเกียรติ์ คุณหอม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
กิจกรรมการเรียนการสอน ที่หลากหลาย เพื่อเพิ่ม ผลสัมฤทธิ์ในการเรียน วิชา กฎหมายแรงงานและ การประกันสังคม ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการจัดเก็บเอกสารของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 ที่ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิคจิ๊กซอว์กับการสอนแบบปกติ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาการใช้โปรแกรมตาราง งานโดยวิธีการเรียนรู้แบบเพื่อน ช่วยเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น ปีที่
นางจินดาพร พูล สวัสดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการจัดการ สำนักงาน ของ นักศึกษาระดับ ปวส. 1 เรื่อง.
วัตถุประสงค์การวิจัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
การพัฒนาบุคลิกภาพด้านการแสดงออกของผู้เรียน
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย ศุภลักษณ์ พูลเกษม วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ 8
นางอัชฌา เพ็งพินิจ นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ว่าที่ร้อยตรีศิริพงษ์ สายหยุด ผู้วิจัย
นายเกียรติศักดิ์ คนธสิงห์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพและบริหารธุรกิจ
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพัฒนาการจัดการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา การบัญชี อุตสาหกรรมและระบบใบสำคัญ ของนักศึกษาระดับ ปวช. 3 สาขาการบัญชี ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา

จากการเรียนการสอนในสัปดาห์แรก พบว่าผู้เรียนใน ห้องเรียนมีความหลากหลาย เพราะ เป็นการเรียนร่วมกันระหว่าง ปวส ธรรม และ ปวส. พิเศษ ( ม 6 ) มีการแบ่งกลุ่ม กันเรียนค่อนข้างชัดเจน ต่างคนต่างอยู่ ขาดความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผลจากการทดสอบย่อย ครั้งที่ 1 พบว่า : ผู้เรียนเข้าสอบ 29 คน ผ่านเกณฑ์คุณภาพ ( ร้อยละ 60) 13 คน คิดเป็นร้อยละ ซึ่งถือว่า อยู่ในระดับต่ำ

จากการวิเคราะห์สาเหตุร่วมกัน ผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนส่วนใหญ่ ไม่ได้กลับไปทบทวนบทเรียน แต่ จะใช้วิธีการอ่านก่อนสอบ เพียง 1 วันเท่านั้น ซึ่งสภาพวิชาการตลาด ผู้เรียนต้องมีความกระตือรือร้น ค้นหาความรู้ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา และที่สำคัญการทอสอบผู้เรียน สามารถแสดงความคิดเห็นได้แต่ ต้องอยู่บนพื้นฐานของหลักวิชา ผู้เรียนต้องสนใจใฝ่รู้สิ่งรอบตัวที่ หลากหลายเพื่อให้ทันกับการ เปลี่ยนแปลงที่มีตลอดเวลา

 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาการบริหารธุรกิจค้าปลีก ขนาดย่อมของนักศึกษา  เพื่อศึกษาเจตคติต่อกระบวนการ จัดการเรียนการสอนแบบ โมเดล ซิปปา ( ด้านความรับผิดชอบ ของผู้เรียน )

ตาราง เปรียบเทียบผลการเรียน ก่อน หลังการใช้วิธีการสอน แบบ โมเดลซิปปา ก่อ น หลัง T1T2T3T4T5Proje ct ผู้เข้า สอบ 29 ผ่าน เกณฑ์ ร้อยละ ผู้ผ่าน เกณฑ์

ตารางผลการประเมินตนเองด้านความ รับผิดชอบ รายการประเมินระดับการประเมิน ค่าเฉลี่ ย ร้อยละแปลผล ความร่วมมือ ปานกลาง การแสดงความ คิดเห็น ปานกลาง ความตั้งใจในการ ทำงาน ปานกลาง ทำงานเสร็จตาม เวลา ปานกลาง การนำเสนอ ผลงาน ปานกลาง ภาพรวม ปานกลาง

 ผู้เรียนที่ผ่านการเรียน โดย วิธีการสอนแบบ โมเดลซิปปา มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ  ผู้เรียนที่ผ่านการเรียน โดยใช้ วิธีการสอนแบบ โมเดลซิปปา มี ความรับผิดชอบเพียงซึ่งอยู่ใน ระดับปานกลาง ร้อยละ 62.24

 ผลจากการวิจัยพบว่า หลังใช้การ จัดการเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่าน เกณฑ์เพียงร้อยละ ซึ่งไม่ เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะวิธีการสอนแบบโมเดล ซิปปา เป็นวิธีการสอนที่มุ่งเน้น ผู้เรียนให้ศึกษาค้นคว้า รวบรวม ข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วนร่วมใน การสร้างการเรียนรู้ การมี ปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น การนำความรู้ ไปประยุกต์ใช้ เป็นการฝึกให้ผู้เรียน ทำงานร่วมกับการสอนเพื่อที่จะ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้น

 การประเมินตนเองด้านความ รับผิดชอบ พบว่าผู้เรียนที่ใช้ วิธีการเรียนแบบโมเดลซิปปา มี ความรับผิดชอบ ในระดับปาน กลาง ร้อยละ เพราะ วิธีการเรียนดังกล่าวฝึก การ พึ่งพาและเกื้อกูลกัน การ ปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ของสมาชิกแต่ละคน และการใช้ ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล ทักษะในการทำงานกลุ่ม ย่อย

 ผู้สอนในรายวิชาที่มีผู้เรียน หลากหลายอยู่ในห้องเดียวกัน นำไปไปปรับใช้ได้ โดยเฉพาะใน กลุ่มวิชาพื้นฐาน ซึ่งต้องเรียนทุก สาขางาน หรือสาขาวิชาและควรมี การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ที่สอนด้วยการเรียนรู้ แบบร่วมมือที่ใช้วิธีการอื่น นอกเหนือจากวิธีสอนแบบโมเดล ซิปปา เพื่อเปรียบเทียบ แต่ควรจะ แยกกลุ่มเป็นรายห้อง ซึ่งเหมาะกับ ผู้สอนที่สอนวิชาเดียวกันและหลาย ห้องเรียน