กิจกรรม อย.น้อย ปี 2558 (การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นายชิดชัย อังคะ ไวมงคล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายมนัส ปรุง ทำนุ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ ร. อ. ปกรณ์เดช โลหิตหาญ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ.
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ชลบุรี ว่าง นายชิดชัย อังคะไวมงคล
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
บริโภคอย่างมีความสุข งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 15 มกราคม 2558 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ดร. สุรัตน์
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ชุมชนปลอดภัย.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
“ อสม. 4.0 ”.
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรม อย.น้อย ปี 2558 (การดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน) โดย..ภก.จิระ วิภาสวงศ์ เภสัชกรเชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน

สภาพปัญหา จากการสำรวจภายในโรงเรียน

สภาพปัญหา จากการสำรวจบริเวณหน้าโรงเรียน

กิจกรรม อย.น้อย ทำให้นักเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี เช่น...... ไม่บริโภคน้ำอัดลม ไม่บริโภคอาหารขยะ บริโภคนม ผัก ผลไม้ การใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง อ่านฉลากอาหาร ยา เครื่องสำอางก่อนใช้ นักเรียนได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อน ๆ ครอบครัว และชุมชนด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย

แนวทางกิจกรรม อย.น้อย 1. การตรวจสอบคุณภาพอาหารที่จำหน่ายภายใน หรือรอบๆ โรงเรียน และตลาดสดหรือชุมชนใกล้เคียง ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบบอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอกขาว เป็นต้น

- บอร์ดความรู้ 2. การให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น... - เสียงตามสาย - พูดหน้าเสาธง - กิจกรรมการแสดง - รายการทางโทรทัศน์วงจรปิด เป็นต้น

- การเดินรณรงค์ 3. การรณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน เช่น 3. การรณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน เช่น - การเดินรณรงค์ - การแจกเอกสารความรู้ - การให้ความรู้ทางหอกระจายข่าวหรือวิทยุชุมชน เป็นต้น

สามารถ Download ได้ที่ http://www.oryornoi.com 4. การบูรณาการความรู้ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (ยา อาหาร เครื่องสำอาง เครื่องมือแพทย์ วัตถุอันตราย) เข้าไปกับหลักสูตรการเรียน การสอน อย.ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อย.น้อย ทั้งระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2555) สามารถ Download ได้ที่ http://www.oryornoi.com ประกอบด้วย..แผนการจัดการเรียนรู้ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ / ใบงาน / แบบประเมินการทำงาน / เกณฑ์การประเมินการทำงาน

5. การขยายความรู้ไปสู่โรงเรียนระดับประถมศึกษา ในลักษณะ “พี่สอนน้อง”

ตัวดูดน้ำ (คริสตัลเบบี้) 6. การเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพและการโฆษณาที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อตนเอง เพื่อนนักเรียน ครอบครัว เช่น -อาหารสีสันฉูดฉาด -อาหารที่ทอดด้วยน้ำมันทอดซ้ำ -ของเล่นที่ไม่ปลอดภัย ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ตัวดูดน้ำ (คริสตัลเบบี้) ลูกอมปีศาจ ลูกอมก้านเรืองแสง

7. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี โดยยึดหลัก “บริโภคถูกหลักโภชนาการ ปราศจากสารปนเปื้อน” เช่น - หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) - หลีกเลี่ยงการซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพตามโฆษณาชวนเชื่อ - หลีกเลี่ยงการซื้ออาหารที่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ หรือไม่ใช้น้ำมันทอดซ้ำ (นึ่ง อบ ย่าง) - อ่านฉลาก อาหาร ยา และเครื่องสำอาง ก่อนซื้อก่อนใช้ - บริโภคนม ผัก และผลไม้เป็นประจำ - รู้ทันอันตรายสเตียรอยด์ - การใช้ยาปลอดภัยในโรงเรียน

8.จัดตั้งศูนย์รับแจ้งข้อมูลผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียน หรือ ประชาสัมพันธ์ ผ่านทาง เวปไซด์ Line facebook เป็นต้น

แหล่งสนับสนุนการทำกิจกรรม อย.น้อย เวปไซด์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เวปไซด์ http://www.oryornoi.com เวปไซด์ http://www.oryor.com E-book / คู่มือ อย.น้อย รู้แล้วบอกต่อ / แผ่นพับ / บทวิทยุ : สามารถที่นำไปประชาสัมพันธ์ตามเสียงตามสายได้ แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อย.น้อย แอปพลิเคชั่น สมาร์ทโฟน ฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เทศบาล/อบต.ในเขตพื้นที่

เกิดการพัฒนาปรับปรุงของโรงเรียน เช่น โรงอาหาร สถานที่จำหน่ายอาหาร ความรู้ด้านการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างปลอดภัยต่อตนเอง เพื่อน ครอบครัว นักเรียนมีการพัฒนาเรื่องการคิด การวางแผน การทำงาน การแสดงออก อย.น้อย ขยายผลสู่ชุมชน เกิดการพัฒนาปรับปรุงของโรงเรียน เช่น โรงอาหาร สถานที่จำหน่ายอาหาร สนับสนุน โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ

การประเมินเพื่อรับรองการเป็นโรงเรียน อย.น้อย - สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้จัดทำคู่มือเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อย ขึ้น เพื่อให้โรงเรียนได้มีเครื่องมือในการประเมินผลงาน อันจะนำไปสู่การพัฒนาการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย และพัฒนาโรงเรียน - ประกอบด้วยเกณฑ์มาตรฐาน 7 ข้อ - ประเมินโรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา ประถมศึกษาขยายโอกาส และ มัธยมศึกษา - แบ่งเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี และพอใช้

ขั้นตอนการประเมิน ขั้นตอนที่ 1 โรงเรียนประเมินตนเองตามแบบประเมิน ให้ครบถ้วน (แบบฟอร์มการประเมินตนเองสามารถดาวโหลดได้ที่ http://www.lamphunhealth.go.th/pooling/index.html หรือhttp://www.oryornoi.com ) ส่งแบบประเมินที่ สสจ.ลำพูน หรือ รพ.อำเภอ หรือ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอแต่ละอำเภอ

ระดับดี พอใช้ ดีมาก เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอจะลงไปตรวจเยี่ยม ขั้นตอนที่ 2 ระดับดี พอใช้ ดีมาก เจ้าหน้าที่ระดับอำเภอจะลงไปตรวจเยี่ยม ระดับดีเยี่ยม จะมีคณะกรรมการจากจังหวัดลงไปตรวจเยี่ยม ขั้นตอนที่ 3 สสจ.ลำพูน รวบรวมผลการประเมิน ส่งให้ อย. เพื่อจัดทำเกียรติบัตรแก่ครูที่ปรึกษาและโรงเรียน ต่อไป เกียรติบัตรมีอายุ ๓ ปี นับจากวันที่ระบุไว้ในเกียรติบัตร โรงเรียน สามารถเลื่อนระดับการประเมินได้ ตามความพร้อมของโรงเรียน และสามารถขอรับการประเมิน ก่อนการรับรองหมดอายุได้

ข้อมูลการประเมินรับรองการโรงเรียน อย.น้อย ของ จ.ลำพูน (จำนวนโรงเรียน 280 แห่ง มีกิจกรรม อย.น้อย 103 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36.8 ) อำเภอ/ระดับการประเมิน มัธยม ประถม ขยายโอกาส รวม อ.เมือง 4 8 26 38 อ.ป่าซาง - 2 อ.แม่ทา 1 6 9 อ.บ้านธิ อ.ทุ่งหัวช้าง อ.ลี้ 5 อ.บ้านโฮ่ง อ.เวียงหนองล่อง 12 36 57 ข้อมูล เดือนกันยายน 57 มีโรงเรียนในจังหวัดลำพูน ทั้งสิ้น 280 แห่ง แบ่งเป็น มัธยม 20 แห่ง ประถมศึกษาขยายโอกาส 40 แห่ง และประถมศึกษา 220 แห่ง มีการดำเนินกิจกรรมอย.น้อย 103 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 36.8

ข้อมูลการประเมินรับรองการโรงเรียน อย.น้อย ของ จ.ลำพูน (จำนวนโรงเรียน 280 แห่ง มีกิจกรรม อย.น้อย 103 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36.8 ) อำเภอ/ระดับการประเมิน ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ รวม อ.เมือง 4 8 20 6 38 อ.ป่าซาง 1 - 2 อ.แม่ทา 3 9 อ.บ้านธิ อ.ทุ่งหัวช้าง อ.ลี้ 5 อ.บ้านโฮ่ง อ.เวียงหนองล่อง 11 29 57 ข้อมูล เดือนกันยายน 57 มีโรงเรียนในจังหวัดลำพูน ทั้งสิ้น 280 แห่ง แบ่งเป็น มัธยม 20 แห่ง ประถมศึกษาขยายโอกาส 40 แห่ง และประถมศึกษา 220 แห่ง มีการดำเนินกิจกรรมอย.น้อย 103 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 36.8

ข้อมูลการประเมินรับรองการโรงเรียน อย.น้อย ของ จ.ลำพูน (จำนวนโรงเรียน 280 แห่ง มีกิจกรรม อย.น้อย 103 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 36.8 ) อำเภอ/ระดับการประเมิน มัธยม ประถม ขยายโอกาส รวม ดีเยี่ยม 4 1 3 8 ดีมาก 2 5 11 ดี 21 29 พอใช้ - 7 9 12 36 57 ข้อมูล เดือนกันยายน 57 มีโรงเรียนในจังหวัดลำพูน ทั้งสิ้น 280 แห่ง แบ่งเป็น มัธยม 20 แห่ง ประถมศึกษาขยายโอกาส 40 แห่ง และประถมศึกษา 220 แห่ง มีการดำเนินกิจกรรมอย.น้อย 103 แห่ง คิดเป็น ร้อยละ 36.8

ผลิตภัณฑ์ที่ควรเฝ้าระวังในโรงเรียน อาหารทอดจากน้ำมันทอดซ้ำ คอนเทคเลนส์ Big Eyes กาแฟ/อาหารเสริม ลดความอ้วน หรือทำให้ผิวขาว เครื่องสำอาง ที่ทำให้ผิวขาว ขนมนำเข้าที่ไม่มีฉลากภาษาไทย ของเล่นที่อันตราย เช่น ตัวดูดน้ำ ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ ลูกอมก้านเรืองแสง เป็นต้น

Thank you for your attention