งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบคุ้มครองผู้บริโภค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบคุ้มครองผู้บริโภค"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
PP Excellence ระบบคุ้มครองผู้บริโภค KPIกระทรวง(22+27) PA ปลัดฯ( 9+10) PA เขตฯ(9+10) PA อำเภอ ปี60 ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ปลายน้ำ กลางน้ำ ต้นน้ำ เป้าหมาย อย. : ประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ปลอดภัย PA1: ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูป มีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) PA2: ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 95) บท บาท บริหารจัดการระบบ ระบบข้อมูล การเฝ้าระวัง (Surveillance) การจัดการความเสี่ยง (Inspection and Response) จัง หวัด/อำ เภอ -มีคณะ ทำงาน -ทีมปฏิบัติการ -คู่มือฯ -มีแผนฯ -มีการติดตาม มีระบบข้อมูลสำคัญ จัดเก็บและรายงาน -แผนเฝ้าระวัง -ขับเคลื่อน/ดำเนินการตามแผน -ถ่ายทอดกำกับติดตาม -นำผลการตรวจเฝ้าระวังมาดำเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยง(Risk Management )แบบบูรณาการ - ดำเนินการตามกฎหมาย -สื่อสารความเสี่ยงไปยังผู้เกี่ยวข้อง/เพื่อจัดการปัญหา -ถ่ายทอดกำกับติดตาม การดำเนินงานตามแผนฯ มาตรการบูรณาการ 5 ระบบ ระบบคุ้มครองผู้บริโภค (กลุ่มงาน คบ./กลุ่มงาน อสล.)

2 มาตรการบูรณาการ ประเด็น ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ PP Excellence แผนงานที่ 3 ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานอาหารปลอดภัยและการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของอำเภอ สถานการณ์และสภาพปัญหา 1.ระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคอำเภอ *ระดับความสำเร็จการจัดระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคของหน่วยงานระดับอำเภอมีค่าเฉลี่ยที่ระดับ <3.5 2.ผลวิเคราะห์คุณภาพอาหารและผลิตภัณฑ์อาหาร *ผลการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์อาหาร <ร้อยละ80 (ไม่ผ่านเกณฑ์เป้าหมาย) จำนวนสถานที่ผลิต(GMP) ทั้งหมด 192 แห่ง *ผลการตรวจสารปนเปื้อนในผักสดพบสารเคมีกำจัดศัตรูพืชไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 3.86 ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นจากปี2557(ร้อยละ3.30) ปี2558 (ร้อยละ 3.64) แผนงาน/โครงการ การตรวจเฝ้าระวัง/วิเคราะห์คุณภาพ 1.โครงการอาหารปลอดภัย(ผักผลไม้สด/เนื้อสัตว์) 2.โครงการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการผลิตอาหารให้ได้มาตรฐาน การพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค 3.โครงการพัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (สำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่คบ.ระดับจังหวัด-อำเภอ) มาตรการ/Key Activity คน การพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานในระบบคุ้มครองผู้บริโภค ข้อมูล การสำรวจ/จัดทำฐานข้อมูลและสรุปข้อมูลสำคัญในการดำเนินงานที่เป็นปัจจุบัน แผน ดำเนินงานอาหารปลอดภัย /แผนงานตรวจเฝ้าระวังและจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ลงมือดำเนินการตามแผน/จัดการความเสี่ยงและสื่อสารความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ การติดตามและประเมินผล (M&E) 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.คณะกรรมการ/คณะทำงาน 2.สำรวจ/จัดทำสรุปข้อมูล 3.แผนปฏิบัติการอาหาร/คบ. 1.ดำเนินการตามแผน(40%) 2.มีหลักเกณฑ์/แผนจัดการความเสี่ยง 3.บันทึก/ส่งรายงาน 1.ดำเนินการตามแผน(65-100%) 2.สรุปสถานการณ์/ผลการจัดการ/สื่อสารความเสี่ยง 3.บันทึกรง.และส่งรายงานจังหวัด 1. จัดทำสรุปผลงาน/การจัดการความเสี่ยง 2.บันทึกรายงานและส่งรายงานจังหวัด

3 โครงการ1:อาหารปลอดภัย(ผักผลไม้และเนื้อสัตว์สด )
วัตถุประสงค์ การตรวจเฝ้าระวังเพื่อ 1.ลดปัญหาการปลอมปนสารเร่งเนื้อแดง ในเนื้อสัตว์สด 2.ลดปัญหาผักผลไม้สดปนเปื้อนสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ผลผลิต ผัก ผลไม้สดและเนื้อสัตว์สด มีความปลอดภัย ในการบริโภค ผู้จำหน่ายได้รับการตรวจสอบ/รับรองความปลอดภัยของอาหารที่นำมาจำหน่าย กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ 1.ประชุมคณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับจังหวัด2.การตรวจเฝ้าระวังโดย MobileUnit 3.การพัฒนาทักษะการใช้ชุดทดสอบของเจ้าหน้าที่ระดับอำเภอ 4.การมอบป้าย Food Safety ระยะเวลา : พฤศจิกายน 59 – เมษายน 60 แหล่งงบประมาณ : งบ สสจ. และงบ CUP วิธีการประเมินผล จากรายงานผลการดำเนินการโครงการ

4 โครงการ 2: ตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการผลิตอาหารให้ได้มาตรฐาน
วัตถุประสงค์ เพื่อตรวจเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์อาหาร ณ สถานที่ผลิต และพัฒนาแนวทางการตรวจสถานที่ผลิตให้ถูกต้องเป็นมาตรฐานเดียวกัน ผลผลิต สถานที่ผลิตอาหารได้รับการตรวจสอบและ ผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน GMP ผลิตภัณฑ์อาหารที่ผลิตมีคุณภาพตามเกณฑ์ ที่กำหนด กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ 1.ประชุมพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พรบ.อาหาร พย การตรวจสถานที่ผลิตอาหารหลังอนุญาตทุกอำเภอ 3.เก็บตัวอย่างอาหาร ณ สถานที่ผลิต ส่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 4.แจ้งผลตรวจวิเคราะห์/ดำเนินการตามกฎหมาย ระยะเวลา : พฤศจิกายน 59 – กรกฎาคม 60 แหล่งงบประมาณ : งบ สสจ. และงบ อย. วิธีการประเมินผล สรุปรายงานผลการตรวจสถานที่ผลิตและ รายงานผลการตรวจวิเคราะห์

5 โครงการ3 :พัฒนาระบบการจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค ให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการ ความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลผลิต 1. ทีมจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2. แผนจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ระดับอำเภอ กลุ่มเป้าหมาย/ระยะเวลา/งบประมาณ ผู้ปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภค/พนักงานเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด-อำเภอ ระยะเวลา : มกราคม – กุมภาพันธ์ 2560 แหล่งงบประมาณ : งบ สสจ. วิธีการประเมินผล แบบสอบถามผู้เข้าร่วมโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

6 แหล่งข้อมูล www.fda.moph.go.th www.surinpho.go.th
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ ผู้ประสานงานตัวชี้วัด 1.ภญ.สุธิดา บุญยศ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข โทรศัพท์สำนักงาน : ต่อ 219 2.นางอรวิชญ์ พาริหาญ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและ อาชีวอนามัย โทร ต่อ 117 โทรสาร


ดาวน์โหลด ppt ระบบคุ้มครองผู้บริโภค

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google