งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น (อปท.) มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

2 ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการดำเนินงาน : อปท.12 แห่ง (สคร.ละ 1 แห่ง) มีการพัฒนาระบบในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงมาตรการ สำนักโรคจากจากประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม สำนักงานป้องกันควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) 1. ถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้แก่ สคร. ทราบ 2. กำกับ ติดตาม รวบรวมข้อมูล สรุปผลการดำเนินงานภายใต้ตัวชี้วัดเสนอผู้บริหาร 1. ถ่ายทอดการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ให้แก่ สสจ. และ อปท. ทราบ 2. ประสาน สสจ. และ อปท. เพื่อเลือก อปท. ต้นแบบอย่างน้อย สคร. ละ 1 แห่ง 3. ส่งแบบ “อปท.1” ให้สำนัก EnvOcc. ภายใน 20 ธ.ค. 2559 4.รายงานผลการประเมินตาม “อปท.2” ของ อปท. ภายใน ก.ย. 2560 1. เข้าร่วมรับฟังแนวทางการดำเนินงานจาก สคร. 2. ร่วมประสาน กำกับ ติดตามการดำเนินงานของ อปท. 3. ร่วมตรวจประเมินตามเกณฑ์วัดระดับความสำเร็จการดำเนินงานของ อปท. ร่วมกับ สคร. (ตามแบบ “อปท.2”) 1. เข้าร่วมรับฟังแนวทางการดำเนินงานจาก สคร. 2. ทำการประเมินตนเองตามแบบ “อปท.2” ส่ง สคร. ภายใน 20 มี.ค. 2560 3. ดำเนินงานสร้างระบบการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ 4. ขอรับและรับการตรวจประเมินตามเกณฑ์ใน “อปท.2” โดยทีม สคร. ร่วมกับ สสจ.

3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง
นิยามคำสำคัญ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมายถึง ให้หมายความเฉพาะการดำเนินงานใน องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) หรือ เทศบาล หรือ สุขาภิบาล หรือ เทศบาลนคร ซึ่งไม่ให้หมายรวมถึงองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)

4 นิยามคำสำคัญ ระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง
ระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม หมายถึง การดำเนินงานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น 1. มีข้อมูลพื้นฐานความเสี่ยงเกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ สถานการณ์ปัญหามลพิษที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ 2. มีการติดตามเฝ้าระวังมลพิษสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 3. มีการจัดการ กำหนดมาตรการเพื่อแก้ไขที่แหล่งกำเนิดมลพิษสิ่งแวดล้อม เช่น การออกนโยบาย ข้อกำหนดต่างๆ หรือ บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรูปแบบคณะทำงาน เพื่อแก้ไขปัญหา 4. มีการเฝ้าระวัง ติดตาม ดูแลสุขภาพประชาชน เช่น การสนับสนุน/ร่วมดำเนินการ คัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุข การจัดสรรงบประมาณในการดูแลสุขภาพประชาชน 5. การสื่อสารความเสี่ยงเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

5 Flow chart การดำเนินงาน
สำนักฯ พัฒนาแนวทาง อปท. จัดการปัญหาสุขภาพสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ถ่ายทอดพัฒนา รูปแบบ Model แนวทาง การดำเนินงาน แบบฟอร์ม สำรวจ/วิเคราะห์ความเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน แบบรายงานสรุปผลการดำเนินงาน สนับสนุน ติดตาม ประเมินผล สคร. ถ่ายทอดรูปแบบการดำเนินงานให้กับ สสจ. และ อปท. ในพื้นที่ คัดเลือก อปท.ต้นแบบ สนับสนุน ติดตามประเมินผล สคร. รายงานผลการดำเนินงาน สำนัก รวบรมสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวม

6 แบบ อปท.1 แบบแจ้งข้อมูลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม แบบ “อปท.1” ให้ สคร. ประสาน สสจ. และ อปท. ในการเลือก อปท. ต้นแบบ (สคร.ละอย่างน้อย 1 อปท.) สคร. ส่งแบบ “อปท.1” ถึงสำนัก EnvOcc ภายใน 20 ธันวาคม 2559

7 แบบ อปท.2 เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม แบบ “อปท.2” ให้ อปท. ประเมินตนเอง ส่ง สคร. ภายใน 20 มีนาคม 2560 สคร. ร่วมกับ สสจ. ลงประเมิน อปท. ตามเกณฑ์ประเมินฯ

8 เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพ
จากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตามแบบ อปท.2 มีเกณฑ์ประเมินทั้งหมด 10 ข้อ แนวทางประเมิน/วัดผล ผลการประเมิน ข้อมูล/เอกสารที่แสดง ไม่มี มี 1.ผู้บริหาร/องค์กร ให้ความสำคัญในการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ 2.การมอบหมายผู้รับผิดชอบงานการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่ 3.การจัดทำแผนงาน โครงการดูแลสุขภาพบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ 4.การสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดูแลสุขภาพบุคลากรและประชาชนในพื้นที่ ที่เป็นรูปธรรมและมีความต่อเนื่อง 5.ข้อมูลแหล่งสิ่งคุกคามและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม

9 เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพ
จากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตามแบบ อปท.2 (ต่อ) แนวทางประเมิน/วัดผล ผลการประเมิน ข้อมูล/เอกสารที่แสดง ไม่มี มี 6.การประสาน/สนับสนุน/ร่วมการดำเนินงานการคัดกรองและเฝ้าระวังสุขภาพร่วมกับหน่วยบริการสาธารณสุขพื้นที่ 7.ร่วมและสนับสนุนการสื่อสารความเสี่ยงและให้ความรู้เกี่ยวกับมลพิษสิ่งแวดล้อมและสุขภาพประชาชน 8.การออกข้อกำหนด/เทศบัญญัติ/มาตรการ เพื่อจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 9.การบูรณาการการดำเนินงานในรูปแบบต่างๆ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน 10.ผลงานการแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ที่เป็นรูปธรรม

10 สรุปผลการประเมิน/วัดระดับความสำเร็จ :
เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพ จากมลพิษสิ่งแวดล้อม ตามแบบ อปท.2 (ต่อ) สรุปผลการประเมิน/วัดระดับความสำเร็จ : ไม่มีระบบ/ยังไม่มีการพัฒนาระบบฯ ที่ชัดเจน คือ มีผลการประเมินมีผล “ไม่มี” ทุกข้อ มีระบบขั้นพื้นฐาน คือ มีผลการประเมินมีผล “มี” อย่างน้อย 5 ข้อ โดยต้อง “มี” ในข้อ 1-5 มีระบบขั้นดี คือ มีผลการประเมินมีผล “มี” อย่างน้อย 7 ข้อ โดยต้อง “มี” ในข้อ 1-8 มีระบบขั้นดีมาก คือ มีผลการประเมินมีผล “มี” ทุกข้อ อปท.จะถือได้ว่ามีการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพฯ เมื่อ : อปท. มีผลการประเมินตามแบบ “อปท.2 เกณฑ์ประเมินความสำเร็จของการพัฒนาระบบการจัดการปัญหาสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม” ผ่านตามเกณฑ์ ที่กำหนด “มีระบบขั้นพื้นฐาน” ขึ้นไป

11 การวัดและการติดตามผล ปีงบประมาณ 2560
รอบ 3 เดือน รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือน รอบ 12 เดือน การถ่ายทอดแนวทางการดำเนินงานให้แก่ อปท.รับทราบ - สคร. เลือก อปท. ต้นแบบและส่งข้อมูลตามแบบ “อปท.1” สคร.ลงพื้นที่ทำการสนับสนุน ติดตามการดำเนินงานพัฒนาระบบการดูสุขภาพประชาชนฯ - อปท. ทำการประเมินตนเองตามแบบ “อปท.2” อปท.ดำเนินการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพประชาชนฯ ตามแนวทาง/แผนงานที่กำหนด - สคร.ทำการสนับสนุน/ติดตาม/ประเมินผลเชิงประจักษ์ตามแบบ “อปท.2” สคร.ทำการสนับสนุน/ติดตาม/ประเมินผลเชิงประจักษ์ตามแบบ “อปท.2” ได้ผลการประเมินเชิงประจักษ์ ตามแบบ อปท.2 ครบทั้ง 12 อปท. - สำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ รวบรวมข้อมูลการประเมินเชิงประจักษ์ สรุปรายงานผลเสนอผู้บริหารรับทราบ

12 การคำนวณและการวัดผล คะแนน 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 10 11 12 13 14
จำนวน อปท. เป้าหมาย (แห่ง) 10 11 12 13 14 เกณฑ์ระดับ สคร. 1 2 3

13 Thank you. ถาม-ตอบ


ดาวน์โหลด ppt ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google