งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โรงพยาบาล ตัวชี้วัดโรงพยาบาล 18 ข้อ รพ.สต.3 ข้อ ผ่าน (ข้อ) ไม่ผ่าน (ข้อ) % ผ่าน ระดับขั้น RDU 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 A กำแพงเพชร / 41.7 ขาณุวรลักษบุรี 54.2 คลองขลุง 37.5 คลองลาน 29.2 ทรายทองวัฒนา 62.5 ทุ่งโพธิ์ทะเล 45.8 บึงสามัคคี ปางศิลาทอง 58.3 พรานกระต่าย ลานกระบือ 33.3 โกสัมพีนคร 66.7 ไทรงาม ผ่าน (แห่ง) ไม่ผ่าน (แห่ง) 67 100 33 25 58

2 โครงการที่ .....38.โครงการประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส และบริหารความเสี่ยง...
ตัวชี้วัด เมือง ไทรงาม คลองลาน ขาณุฯ คลองขลุง พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทองฯ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี โกสัมพี จังหวัด ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ร้อยละ20 31.56 36.78 36.51 48.05 56.2 33.34 23.55 38.5 34.12 43.16 41.93 35.47 การจัดซื้อร่วมของยา ร้อยละ 20 33.82 36.64 23.78 47.29 29.82 30.14 27.74 31.97 28.23 30.07 34.62 34.17 การจัดซื้อร่วมของ เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา ร้อยละ 20 24.37 28.07 23.49 28.91 12.46 25.96 11.53 30.31 29.43 32.99 20.57 24.19 การจัดซื้อร่วมของ วัสดุวิทยาศาสตร์ ร้อยละ 20 30.8 40.1 58.12 61.7 79.95 42.61 13.09 48.47 50.76 67.04 59.75 45.02 การจัดซื้อร่วมของ วัสดุทันตกรรม ร้อยละ 20 14.89 26.91 32.23 22.31 8 20.77 34.76 13.17 23.41 16.77 18.58

3 ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย ร้อยละ 75 91.25 80 95.22
โครงการที่ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ.... ตัวชี้วัด เมือง ไทรงาม คลองลาน ขาณุฯ คลองขลุง พรานกระต่าย ลานกระบือ ทรายทองฯ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี โกสัมพี จังหวัด ผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย ร้อยละ 75 91.25 80 95.22 100 94.12 90.63 93.02 93.55 ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐาน ร้อยละ 96 94.8 92.65 97.05 88.24 96.67 97.06 95.59 96.72 94.44 87.5 สถานพยาบาลผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 100 96.33 91.67 88.89 95.56 92 96.15 85.71 95.49 สถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 65 44.44 ไม่มีผู้ยื่น 50 สถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 82.50 70.39 69.45 47.78 46 98.08 72.74

4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย ร้อยละ 75
หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: …1… Excellence แผนงาน ……………………………………………………………………………… โครงการ …… ส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยด้านอาหาร ……………………… แผนงานที่……… ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย ร้อยละ 75 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ปี2560ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัยร้อยละ 91.32 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการ กำกับ ควบคุม ตรวจสอบ ระดับจังหวัด 1.ประชุมคณะอนุกรรมการคบส.เพื่อทำแผนอาหารปลอดภัย 2.ประชุมชี้แจงผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง 3.ตรวจสถานที่ผลิต จำหน่าย เก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ระดับพื้นที่ 1.ตรวจสถานที่จำหน่าย เก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ด้วย Test – kit(หรือส่ง รถโมบาย) 2. เก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ (ผ่าน สสจ) ตามที่ได้รับมอบหมาย 3. รายงานผลการดำเนินการรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 1.มีแผนการดำเนินงานอาหารปลอดภัย 2.ดำเนินการตามแผนร้อยละ 30 ไตรมาส 2 1. ดำเนินการตามแผนร้อยละ 65 ไตรมาส 3 1. ดำเนินการตามแผนร้อยละ 100 ไตรมาส 4 สรุปและรายงานผล

5 หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: …1… Excellence แผนงาน ……………………………………………………………………………… โครงการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ แผนงานที่……… ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐาน ร้อยละ 96 (อาหาร ยา เครื่องสำอาง วัตถุอันตราย ) เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ปี2560 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐาน ร้อยละ ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการ กำกับ ควบคุม ตรวจสอบ ระดับจังหวัด 1.ประชุมคณะอนุกรรมการคบส.เพื่อทำแผนจัดการความเสี่ยง และแผนเฝ้าระวัง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2.ประชุมผู้ประกอบการที่เกี่ยวข้อง (ร้านขายยา) 3.ตรวจสถานที่ผลิต จำหน่าย เก็บตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ระดับพื้นที่ 1. เก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฎิบัติการ (ผ่าน สสจ) ตามที่ได้รับมอบหมาย 2. รายงานผลการดำเนินการรายไตรมาส กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 1.มีแผนจัดการความเสี่ยง และแผน เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ 2.ดำเนินการตามแผนเฝ้าระวังร้อยละ 30 ไตรมาส 2 1. ดำเนินการตามแผนร้อยละ 65 ไตรมาส 3 1. ดำเนินการตามแผนร้อยละ 100 ไตรมาส 4 สรุปและรายงานผล ระดับความสำเร็จ

6 หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: …1… Excellence แผนงาน ……………………………………………………………………………… โครงการ คุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ แผนงานที่……… ร้อยละของสถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 82.50(สถานพยาบาล นวด สปา) เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ปี2560 สถานพยาบาลและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 72.74 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการ กำกับ ควบคุม ตรวจสอบ กิจกรรมหลัก ระดับจังหวัด 1.กำหนดเป้าหมาย 2.ตรวจสถานพยาบาลในเขตเมือง 3.ตรวจสถานประกอบการเพื่อสุขภาพทั้งจังหวัด ระดับพื้นที่ 1. ตรวจสถานพยาบาลในเขตรับผิดชอบ 2. รายงานผลการดำเนินการรายไตรมาส กรณี สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ ร่วมตรวจกับสสจ. ไตรมาส 1 1.ตรวจสถานประกอบการร้อยละ 30 2.ผลการตรวจผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ไตรมาส 2 1.ตรวจสถานประกอบการร้อยละ 65 2.ผลการตรวจผ่านเกณฑ์ร้อยละ 85 ไตรมาส 3 1.ตรวจสถานประกอบการร้อยละ 100 2.ผลการตรวจผ่านเกณฑ์ร้อยละ 90 ไตรมาส 4 สรุปและรายงานผล ระดับความสำเร็จ

7 การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในรพ./รพ.สต.
หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: …2… Excellence แผนงาน ……………………………………………………………………………… โครงการ ป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล……… แผนงานที่……… ร้อยละของรพ.ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) เป้าหมาย : RDU ขั้นที่ 1 > ร้อยละ 80 , RDU ขั้นที่ 2 > ร้อยละ 20 , รพท.มีระบบจัดการดื้อยาต้านจุลชีพ เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน รพ.ที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ 16.67, RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 0 , รพท. ระบบจัดการดื้อยาต้านจุลชีพยังทำไม่ครบทุกข้อ ยุทธศาสตร์/ มาตรการ การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในรพ./รพ.สต. การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR) อย่างบูรณาการ (รพท.) ระดับจังหวัด 1.จัด VDO Conference ชี้แจงผู้รับผิดชอบงาน RDU ทุกระดับ 2.ประชุมคณะกรรมการ RDU จังหวัด 3.กระตุ้น เร่งรัด ติดตามการดำเนินงานของพื้นที่ 4.พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อติดตามการดำเนินงาน ระดับพื้นที่ 1.ให้คณะกรรมการ PTC อำเภอ นำเรื่อง RDU เข้าวาระทุกครั้ง 2.วางแผนการพัฒนางาน RDU โดยกำหนดทีมและผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน 3.ติดตามการดำเนินงาน RDU ของรพ.สต. ในเขตรับผิดชอบ 4.รายงานผลการดำเนินการรายไตรมาส 5.วางระบบจัดการดื้อยาต้านจุลชีพ AMR อย่างบูรณาการ (เฉพาะรพท) 6.จัดประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบงาน RDU ทุกระดับ กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ 33.3 RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 0 ไตรมาส 2 RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ 50 RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ ไตรมาส 3 RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ ไตรมาส 4 RDU ขั้นที่ 1 ร้อยละ 83.3 RDU ขั้นที่ 2 ร้อยละ 24

8 หน่วยงานหลัก: หน่วยงานร่วม: …4… Excellence แผนงาน ……………………………………………………………………………… โครงการ ประเมินคุณธรรม ความโปร่งใส และบริหารความเสี่ยง แผนงานที่……… ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ร้อยละ20 เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด สถานการณ์/ข้อมูลพื้นฐาน ร้อยละของการจัดซื้อร่วมของยา เวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา วัสดุวิทยาศาสตร์ และวัสดุทันตกรรม ร้อยละ 35.80 ยุทธศาสตร์/ มาตรการ มาตรการ ควบคุม กำกับ การดำเนินงาน ระดับจังหวัด 1.กำกับ ติดตามผลการจัดซื้อร่วมของโรงพยาบาล รายเดือน 2.รายงานผลการดำเนินการ ระดับพื้นที่ 1.ทำแผนจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ให้สอดคล้องกับ Planfin เสนอ สสจ. 2.จัดซื้อตามแผน 3.รายงานการจัดซื้อ รายเดือน ต่อสสจ.ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 4.รายงานการจัดซื้อต่อกองบริหารการสาธารณสุข รายไตรมาส กิจกรรมหลัก ระดับความสำเร็จ ไตรมาส 1 ร้อยละ 15 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ร้อยละ 20 ไตรมาส 4


ดาวน์โหลด ppt สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google