งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1 2 3 4 Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใสวิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชนอย่างครบวงจร ยุทธศาสตร์ที่ 1 1.พัฒนาเครือข่ายโรงเรียน ขยายพื้นที่ 2.พัฒนาระบบและกลไกการสนับสนุนจากองค์กรในพื้นที่ และชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วม คณะกรรมการขับเคลื่อนเด็กไทยแก้มใสสู่ความยั่งยืน ระดับจังหวัด หรือระดับอำเภอ 1 ผลที่คาดหวัง พัฒนากลไกการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนสู่ความยั่งยืน เครือข่ายขับเคลื่อนอาหารและ โภชนาการเด็กไทยแก้มใสระดับ จังหวัดหรือระดับอำเภอหรือระดับตำบล จำนวน ....โรงเรียน นักเรียน คน ศูนย์เรียนรู้เด็กไทยแก้มใสแม่ข่าย พร้อมเป็นแหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส วิถีชีวิตสุขภาวะชุมชนอย่างเป็น รูปธรรม และสามารถเผยแพร่ผลงาน สู่สาธารณะ เกิดการผลักดันเป็นปฏิญญาชุมชนใน ความร่วมมือการจัดการอาหารโรงเรียน ที่มีคุณภาพและปลอดภัยเพื่อสุขภาพ เด็กไทยอย่างยั่งยืน เกิดรูปแบบการวางแผน / การจัดซื้อ ผัก ผลไม้ปลอดภัย จากเมนูอาหาร กลางวันสู่การเกษตรในโรงเรียนและ เกษตรชุมชน (อย่างน้อย 2 มื้อ ต่อ สัปดาห์) ที่สามารถเสนอเป็นต้นแบบสู่ การขยายผลต่อได้ เด็กนักเรียนมีความรอบรู้ด้านอาหาร โภชนาการและสุขภาพ มีทักษะการ จัดการตนเองในกลุ่มชั้น ป.4-6 ครอบครัวมีความตระหนักรู้และตื่นตัว ในการจัดการด้านอาหาร โภชนาการ และสุขภาพของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนไม่อ้วนเพิ่มขึ้นจากปี การศึกษา 2560 เล่มรายงานการถอดบทเรียนของศูนย์ เรียนรู้แม่ข่าย และเครือข่าย ต่อผล การบริโภคผักผลไม้ปลอดภัยเพิ่มขึ้น ทั้งที่บ้านและโรงเรียน ลดภาวะทุพ โภชนาการ และปรับพฤติกรรม สุขภาพของนักเรียนโดยการมีส่วน ร่วมของครอบครัว (นักเรียนได้รับ ผักปลอดภัยในมื้ออาหารกลางวันวัน ละ 1 ทัพพี ผลไม้ 1 ส่วน และ รวม 3 มื้อ ผัก วันละไม่น้อยกว่า 3 ทัพพี ผลไม้ 3 ส่วน) วัตถุประสงค์ Policy Policy ยุทธศาสตร์ที่ 2 2 เพิ่ม 2 ลด เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก -จัดเวทีประชุม อบรม สร้างองค์ความรู้ ความตระหนัก -สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงและการขับเคลื่อนในชุมชน 2 เพิ่มเกษตรปลอดภัยสู่อาหารกลางวันโรงเรียน เพิ่มกิจกรรมทางกาย ลดหวาน มัน เค็ม ลดพฤติกรรมเสี่ยงจากการบริโภคของนักเรียน พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน Participatory Action - ติดตาม เฝ้าระวัง - จัดเก็บข้อมูลการกินผัก ผลไม้ - รายงานภาวะโภชนาการ (แบบรายงานออนไลน์ ร่วมกับโครงการส่วนกลาง) ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาวิธีการจัดการข้อมูล 3 แม่ข่าย – ลูกข่าย พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูล เฝ้าระวัง ติดตาม โดยการมีส่วนร่วมคณะครูและผู้ปกครอง ตัวชี้วัดหลัก Data Management รูปแบบและกลไกการสนับสนุนระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการโดยโรงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วม อัตราการบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัย ในเด็กกลุ่มวัยเรียนเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เด็กวัยเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงและ ลดอัตราชุกของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ให้เหลือน้อยกว่าร้อยละ 9 4 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ถอดบทเรียน เผยแพร่นวัตกรรมสู่สาธารณะ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จและยั่งยืน นวัตกรรมที่เกิดขึ้น ประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ ประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ ประโยชน์ที่โรงเรียนได้รับ Lesson learned Model แหล่งเรียนรู้เด็กไทยแก้มใส วิถีชีวิตสุขภาวะในโรงเรียนและชุมชน ครบวงจร ส่งเสริมนโยบายด้านอาหารและโภชนาการสู่ความยั่งยืน

2 แบบการเขียนแผนกิจกรรมและงบประมาณ
วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการอาหารและโภชนาการในโรงเรียนให้มีคุณภาพและแก้ปัญหาทุพโภชนาการ เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนใช้ผลผลิตเกษตรปลอดภัย เพื่อพัฒนาความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน-บ้าน-ชุมชน นำไปสู่พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก รูปแบบและกลไกการสนับสนุนระบบบริหารจัดการอาหารและโภชนาการโดยโรงเรียน และชุมชนมีส่วนร่วม อัตราการบริโภคผักและผลไม้ปลอดภัย ในเด็กกลุ่มวัยเรียนเพิ่มขึ้นตามสัดส่วนมาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของเป้าหมาย เด็กวัยเรียนมีภาวะทุพโภชนาการลดลงและ ลดอัตราชุกของภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ให้เหลือน้อยกว่าร้อยละ 9 ยุทธศาสตร์ ผลผลิต กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน งบประมาณ (แสดงเป็นตัวคูณ)


ดาวน์โหลด ppt Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google