งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ 15 - 16 กรกฎาคม 2558.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ 15 - 16 กรกฎาคม 2558."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558

2 ประชากรและการมีงานทำของจังหวัดตาก
จังหวัดตากมีผู้อยู่ในกำลังแรงงาน ๒๖๙,๕๕๓ คน(คิดเป็นร้อยละ ๔๙.๘๘ ของประชากรทั้งหมด) คนทำงานนอกภาคเกษตร จำนวน ๑๕๕,๑๔๓ คน (คิดเป็นร้อยละ ๕๙.๒๘) คนทำงานในภาคเกษตร จำนวน ๑๐๖,๕๕๕ คน (คิดเป็นร้อยละ ๔๐.๗๒) แรงงานนอกภาคเกษตร ซึ่งมีการทำงานในสาขา การขายส่ง การขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ มากที่สุด จำนวน ๕๘,๑๔๓ คน (ร้อยละ ๓๗.๔๘) การผลิต จำนวน ๒๓,๘๔๙ คน (ร้อยละ ๑๕.๓๗) โดยผู้มีงานทำส่วนใหญ่มีการศึกษาต่ำกว่าประถมศึกษา จำนวน ๕๔,๖๙๒ คน (ร้อยละ ๒๐.๙๐) การว่างงาน จังหวัดตากมีผู้ว่างงาน จำนวน ๓,๓๔๒ คน (ร้อยละ ๑.๒๔)

3 ประชากรและการมีงานทำของจังหวัดตาก (แยกรายอำเภอ)
อำเภอสามเงา มีสถานประกอบการ ๔๑ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๗๕๕ คน อำเภอบ้านตาก มีสถานประกอบการ ๘๕ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๗๘๗ คน อำเภอเมืองตาก มีสถานประกอบการ ๔๘๓ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๕,๘๗๙ คน อำเภอวังเจ้า มีสถานประกอบการ ๔๗ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๖๘๕ คน

4 ประชากรและการมีงานทำของจังหวัดตาก (แยกรายอำเภอ)
อำเภอท่าสองยาง มีสถานประกอบการ ๙ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๔๑ คน อำเภอแม่ระมาด มีสถานประกอบการ ๔๐ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๓๐๙ คน อำเภอแม่สอด มีสถานประกอบการ ๙๓๖ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๓๒,๔๕๘ คน อำเภอพบพระ มีสถานประกอบการ ๔๗ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๖๘๕ คน อำเภออุ้มผาง มีสถานประกอบการ ๔๗ แห่ง มีจำนวนลูกจ้าง ๖๘๕ คน

5 แนวโน้มการจ้างงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
ประเภทกิจการ จำนวน/แห่ง ความต้องการแรงงานไทย (คน) ความต้องการแรงงานต่างด้าว (คน) กิจการประเภทสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง ๕๐ ๘๐๐ กิจการโลจิสติกส์/คลังสินค้า ๑๕ ๖๐ เกษตร ประมง และกิจการที่เกี่ยวข้อง ๑๐ ๔๐ โรงแรม และคอนโด อสังหาริมทรัพย์ ๒๐ นำเข้า ส่งออก - ก่อสร้าง ๑๕๐ การผลิตพลาสติก ๓๐๐ การผลิตเครื่องเรือน อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักรและชื้นส่วน ๒๐๐ อุตสาหกรรมอัญมนีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ๑๐๐ และอื่นๆ(สื่อวิทยุ,ขนส่ง,การคัดแยกขยะ,ระบบสาธารณูปโภค) ๓๕ รวม ๔๓ ๒๓๕ ๒๐๗๐

6 การจ้างแรงงานต่างด้าวในพื้นที่ ๕ อำเภอชายแดน

7 พื้นที่ อำเภอท่าสองยาง มีจำนวนสถานประกอบการ 116 แห่ง
พื้นที่ อำเภอท่าสองยาง มีจำนวนสถานประกอบการ 116 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย 3. จำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม พื้นที่ อำเภอแม่ระมาด มีจำนวนสถานประกอบการ 890 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 3. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย พื้นที่ อำเภอแม่สอด มีจำนวนสถานประกอบการ 3,795 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย 3. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล พื้นที่ อำเภออุ้มผาง มีจำนวนสถานประกอบการ 144 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. กิจการก่อสร้าง 3. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย พื้นที่ อำเภอพบพระ มีจำนวนสถานประกอบการ 1,659 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 3. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย

8 พื้นที่ตำบล ด่านแม่ละเมา มีจำนวนสถานประกอบการ 88 แห่ง
เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. กิจการก่อสร้าง 3. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล , จำหน่ายอาหาร และเครื่องดื่ม, ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย พื้นที่ตำบล พระธาตุผาแดง มีจำนวนสถานประกอบการ 246 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ผลิตหรือจำหน่ายเสื้อผ้าสำเร็จรูป 3. กิจการก่อสร้าง พื้นที่ตำบล ท่าสายลวด มีจำนวนสถานประกอบการ 413 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. ผลิตหรือจำหน่ายเสื้อผ้าสำเร็จรูป 2. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย 3. เกษตรและปศุสัตว์ , ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล พื้นที่ตำบล แม่สอด มีจำนวนสถานประกอบการ 1,702 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย 2. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 3. การให้บริการต่าง ๆ พื้นที่ตำบล แม่ปะ มีจำนวนสถานประกอบการ 420 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย 3. กิจการก่อสร้าง พื้นที่ตำบล แม่กุ มีจำนวนสถานประกอบการ 275 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. กิจการก่อสร้าง 3. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย พื้นที่ตำบล แม่กาษา มีจำนวนสถานประกอบการ 134 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. กิจการก่อสร้าง 3. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล , ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย พื้นที่ตำบล มหาวัน มีจำนวนสถานประกอบการ 248 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย 3. กิจการก่อสร้าง พื้นที่ตำบล พะวอ มีจำนวนสถานประกอบการ 100 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 3. กิจการก่อสร้าง พื้นที่ตำบล แม่ตาว มีจำนวนสถานประกอบการ 168 แห่ง เรียงลำดับการใช้แรงงานต่างด้าวตามประเภทกิจการ 1. เกษตรและปศุสัตว์ 2. ผลิตหรือจำหน่ายเสื้อผ้าสำเร็จรูป 3. ค้าส่ง ค้าปลีก แผงลอย

9 สำนักงานจัดหางานจังหวัดตาก สำนักงานใหญ่

10 สำนักงานจัดหางานจังหวัดตาก สำนักงานใหญ่

11 จัดตั้งศูนย์บริการจัดหางานเพื่อคนไทย
ณ อาคารสำนักงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ดำเนินการในรูปแบบ Hello Work

12 จัดตั้งศูนย์บริการจัดหางานเพื่อคนไทย
ณ อาคารสำนักงานเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก ดำเนินการในรูปแบบ Hello Work การสัมภาษณ์งานผ่านระบบอินเตอร์เน็ต

13 บริการจัดหางาน ปี 2557 – 2558

14 การเตรียมกำลังแรงงานไทย มกราคม – มิถุนายน 2558
อาชีพที่ต้องการ 3 ลำดับแรก ปี 2558 1. อาชีพพนักงานขายของหน้าร้าน 2. แรงงานบรรจุภัณฑ์ 3. เจ้าหน้าที่สำนักงาน ช่วงอายุที่ต้องการมากที่สุด 3 ลำดับแรก 18-24 25-29 30-39 อาชีพที่ผู้สมัครงานต้องการ 3 ลำดับแรก ปี 2558 แรงงานบรรจุภัณฑ์ พนักงานขายของหน้าร้าน เจ้าหน้าที่สำนักงาน ช่วงอายุของผู้สมัครงาน 3 ลำดับแรก 18-24 25-29 30-39 อาชีพที่ได้บรรจุงาน 3 ลำดับแรก ปี 2558 1. อาชีพพนักงานขายของหน้าร้าน 2. เจ้าหน้าที่สำนักงาน 3. แรงงานบรรจุภัณฑ์ ช่วงอายุที่ได้รับการบรรจุงาน 3 ลำดับแรก

15 สำรวจและจัดทำทะเบียนข้อมูลกำลังแรงงาน
ระดับปริญญาตรี (จำแนกตามคณะ/สาขาวิชา) รวม 827 คน

16 สำรวจและจัดทำทะเบียนข้อมูลกำลังแรงงาน
ระดับ ปวช. และ ปวส. (จำแนกตามคณะ/สาขาวิชา) ปวช. 1,315 คน ปวส. 627 คน

17 ประสานแรงงานไทยนอกพื้นที่
ประสานตำแหน่งงานว่างไปยังทั่วประเทศ ทางอินเทอร์เน็ต

18 ด้านประกันสังคมและด้านสวัสดิการแรงงาน
สถานประกอบการขึ้นทะเบียนประกันสังคม จำนวน 1,798 แห่ง ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 จำนวนทั้งสิ้น 29,674 ราย การจัดระเบียบความเป็นอยู่ของแรงงานต่างด้าวในสถานประกอบการ - กำกับดูแลให้ลูกจ้างมีความปลอดภัยในการทำงานมีสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี - จัดกิจกรรมผ่อนคลายให้ลูกจ้างในเวลาทำงาน เช่น ออกกำลังกาย หรือแอโรบิควันละ ๒ ครั้ง ๆ ละ ๑๐ – ๑๕ นาที - ให้ลูกจ้างติดบัตรพนักงานแสดงตนเมื่อออกนอกโรงงานหรือที่พัก ให้นายจ้างดูแลที่พัก ห้องน้ำ/ห้องส้วมของลูกจ้างให้สะอาด ถูกสุขลักษณะเป็นประจำทุกวันแยกชายหญิง และมีจำนวนเพียงพอ อบรมเรื่องความปลอดภัยในการขับรถและกฎจราจร (ขนส่ง)

19 แนวโน้มการจ้างงานในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษตาก
ประเภทกิจการ จำนวน/แห่ง ความต้องการแรงงานไทย (คน) ความต้องการแรงงานต่างด้าว (คน) กิจการประเภทสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม และเครื่องหนัง ๕๐ ๘๐๐ กิจการโลจิสติกส์/คลังสินค้า ๑๕ ๖๐ เกษตร ประมง และกิจการที่เกี่ยวข้อง ๑๐ ๔๐ โรงแรม และคอนโด อสังหาริมทรัพย์ ๒๐ นำเข้า ส่งออก - ก่อสร้าง ๑๕๐ การผลิตพลาสติก ๓๐๐ การผลิตเครื่องเรือน อุตสาหกรรมยานยนต์ เครื่องจักรและชื้นส่วน ๒๐๐ อุตสาหกรรมอัญมนีและเครื่องประดับ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ๑๐๐ และอื่นๆ(สื่อวิทยุ,ขนส่ง,การคัดแยกขยะ,ระบบสาธารณูปโภค) ๓๕ รวม ๔๓ ๒๓๕ ๒๐๗๐

20 ด้านการพัฒนาฝีมือแรงงาน


ดาวน์โหลด ppt ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ 15 - 16 กรกฎาคม 2558.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google