งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ อุบัติเหตุทางถนน ปี พ.ศ.2545 – 2556 (ทุกกลุ่มอายุ) ที่มา : สนย. ปัญหา : 1. NCDs อุบัติเหตุทางถนน และโรคจากการประกอบอาชีพ 2. แนวโน้มอัตราตายจากโรค NCDs อุบัติเหตุยังคงเพิ่มขึ้น ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา 3. GAP เรื่องศักยภาพบุคลากร CVD risk assessment และคลินิก NCD คุณภาพ

2 ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดหัวใจในผป
ภาวะแทรกซ้อนทางหลอดเลือดหัวใจในผป. HT & DM ของเขต 4, 2, 3 ค่อนข้างสูงกว่าเขตอื่นๆ และพบภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วย DM ค่อนข้างสูงในทุกเขต โดยเฉพาะในเขต 1, 2, 5, 7, 8, 10, 11 และในผู้ป่วย HT พบภาวะแทรกซ้อนทางไตค่อนข้างสูงในเขต 7, 8 , และ 10

3 มาตรการการดำเนินงาน ปี 2558 กลุ่มวัยทำงาน
เป้าหมาย วิธีการวัด งบประมาณ 1. สร้างเสริมสุขภาพและวิถีชีวิตในประชากร บูรณาการตำบลจัดการสุขภาพ(NCD อุบัติเหตุ) บูรณาการการป้องกันอุบัติเหตุทางถนนใน DHS - สถานที่ทำงาน/สปก.ปลอดโรค ปลอดภัย ฯ - บังคับใช้กฎหมาย (สุรา บุหรี่ ) - สื่อสารความเสี่ยง (3อ 2ส 3ม 2ข 1ร) - การประเมินสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (มะเร็งและความเสี่ยงจากการทำงาน) 2.พัฒนาคลินิกบริการและการจัดการโรค -คลินิก NCD คุณภาพ (+บูรณาการ บริการDPAC Psychosocial บริการช่วยเลิกบุหรี่ และสุรา และบริการอาชีวอนามัย) 3.มาตรการสนับสนุน -พัฒนาระบบข้อมูล บริหารจัดการ และ M&E 1.ลดความชุกของพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง( NCD env-occ อุบัติเหตุ) 2.ลดอัตราตายด้วยอุบัติเหตุทางถนนร้อยละ 50 ภายในปี 2563 3.ลดอัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี การสำรวจ BRFSS ทุก 3 ปี รายงานผลการดำเนินการตามกฎหมายแรงงาน ระบบรายงานการเสียชีวิตจากฐานมรณะบัตร (สนย.) 28.57 ลบ. (สบรส ลบ. ) 23.15 ลบ. 6.00 ลบ. (สบรส ลบ. )

4 ตัวชี้วัดกลุ่มวัยทำงาน
ระดับกระทรวง อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ในปี 2558 ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ลดลงร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี ( ) ระดับเขต อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ลดลงร้อยละ14 จากค่าตั้งต้นมัธยฐาน 3 ปี ( ) ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับน้ำตาล/ความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 และ 50 ตามลำดับ) ระดับจังหวัด ร้อยละของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนที่รับไว้รักษาในโรงพยาบาล ระดับ A, S, M1 ที่มีค่า Probability of Survival (Ps) > และรอดชีวิตหลังการดูแลรักษา (มากกว่าร้อยละ 98.5) รพศ./รพท. และ รพช. ผ่านเกณฑ์การประเมินคลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 70 ร้อยละของผู้ที่ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) และมีความเสี่ยงสูงมาก ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้นและ/หรือได้รับยาในการรักษาเพื่อลดความเสี่ยง (ร้อยละ 50) ข้อเสนอตัวชี้วัด ในปี 2558 แยกเป็นระดับกระทรวง ระดับเขต ระดับจังหวัด

5 สิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน
คู่มือ แหล่งสืบค้น 1.คู่มือการจัดบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงานแบบบูรณาการ 2558 2.คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติการตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2535 พรบ.คุ้มครองสุขภาพผู้ไม่สูบบุหรี่ พ.ศ.2535 และพรบ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 3. คู่มือประเมินการดำเนินงานคลินิก NCD คุณภาพ 2557 4. แนวทางการดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน ปีพ.ศ.2558 5. คู่มือแนวทางการดำเนินงาน สถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google