งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย

2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ความครอบคลุมของหน่วยงานที่ส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อฯ ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการรายงานโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการส่งรายงานโรคเร่งด่วน ร้อยละ 80 การจัดทำสรุปรายงานสถานการณ์โรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ข้อเสนอแนะการป้องกันควบคุมโรคที่สำคัญ ร้อยละ 50

3 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ความทันเวลาของการได้รับแจ้งข่าวระบาดภายในเวลาที่กำหนด ร้อยละ 80 ความครบถ้วนของการสอบสวนการระบาด ร้อยละ 80 รายงานสอบสวนการระบาดที่สามารถหาแหล่งโรคหรือสาเหตุได้ หรือยืนยันด้วยผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการได้ ร้อยละ 80 การสังเคราะห์องค์ความรู้จากสรุปรายงานสอบสวนโรค เรื่อง ต่อปี หน่วยงานในเครือข่ายที่ยังไม่ได้รับการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 60

4 ศูนย์ระบาดอำเภอ ความครอบคลุมของหน่วยงานที่ส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อฯ ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการรายงานโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 การจัดทำสรุปรายงานสถานการณ์โรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการได้รับแจ้งข่าวระบาดภายในเวลาที่กำหนด ร้อยละ 80 ความครบถ้วนของการสอบสวนการระบาด ร้อยละ 80

5 โรงพยาบาล ความครบถ้วนของผู้ป่วยที่รายงานด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 ความถูกต้องของการเขียนบัตรรายงานผู้ป่วย ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการรายงานโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 การจัดทำสรุปรายงานสถานการณ์โรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ความครบถ้วนของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ร้อยละ 60

6 สถานีอนามัย ความครบถ้วนของผู้ป่วยที่รายงานด้วยโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 ความถูกต้องของการเขียนบัตรรายงานผู้ป่วย ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการรายงานโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 การจัดทำสรุปรายงานสถานการณ์โรคที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ความครบถ้วนของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ร้อยละ 80 ความทันเวลาของการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย ร้อยละ 60

7 ปัญหาที่พบ การเฝ้าระวังโรค
ความทันเวลา และความครบถ้วน (ควรตรวจสอบการไหลเวียนข้อมูลอย่างสม่ำเสมอ) ไม่มีการจัดทำสรุปสถานการณ์โรค โดยเฉพาะในระดับ สอ. ความถูกต้องค่อนข้างต่ำ เช่น ลงวันที่ผิด เกิดจากการดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลอื่นๆ ควรตรวจสอบจาก OPD Card ก่อนลงรายงาน

8 ปัญหาที่พบ การสอบสวนโรค หาสาเหตุไม่ได้ หาแหล่งโรคไม่ได้
เก็บตัวอย่างส่งไม่ได้ เขียนไม่ถูกต้อง (เช่น รูปแบบ,ไม่มีข้อเสนอแนะฯ)

9 ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
พัฒนาบุคลากรในเครือข่ายให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทัศคติที่ดี ในการรายงานโรค และวิเคราะห์ข้อมูล ติดตาม นิเทศ แก้ปัญหาของเครือข่ายที่ประสบปัญหาการดำเนินงานอย่างรวดเร็วและสม่ำเสมอ จัดการทำเผยแพร่ ข้อมูล รายงานสถานการณ์โรคอย่างต่อเนื่องให้ผู้บริหารและสถานีอนามัยในเครือข่ายได้รับทราบและใช้ประโยชน์ในข้อมูล

10 มาตรฐานระบาดวิทยาโรคติดต่อ

11 สสจ.เชียงราย รวม 76.67% ดี ระดับคุณภาพ
- ความครอบคลุมของหน่วยงานที่ส่งรายงาน % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ข้อเสนอแนะเพื่อเตือนภัยจากการตรวจสอบสถานการณ์โรค % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย % - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย % - ความทันเวลาของการได้รับแจ้งข่าวการระบาด % - ความครบถ้วนการสอบสวนการระบาด % - การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ % รวม 76.67%

12 รพศ.เชียงรายฯ รวม 26.70 % ระดับคุณภาพ ควรปรับปรุง
- ความครบถ้วน % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย % - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย - (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความครบถ้วนการสอบสวนการระบาด % - การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) รวม %

13 รพช.เวียงเชียงรุ้ง รวม 60.00 % ระดับคุณภาพ ดี - ความครบถ้วน 90.90 %
- ความครบถ้วน % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความครบถ้วนการสอบสวนการระบาด % - การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ % รวม %

14 รพช.ขุนตาล รวม 50.00 % พอใช้ ระดับคุณภาพ - ความครบถ้วน 78.43 %
- ความครบถ้วน % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย % - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความครบถ้วนการสอบสวนการระบาด (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) รวม %

15 ศูนย์ระบาดอำเภอ

16 กิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง
ระดับคุณภาพ ดี กิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง - ความครอบคลุม % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ให้ข้อเสนอแนะเตือนภัย % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความทันเวลาแจ้งข่าวระบาด % - ความครบถ้วนการสอบสวนการระบาด 100 % - การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ % รวม %

17 อำเภอขุนตาล รวม 50.00 % พอใช้ ระดับคุณภาพ - ความครอบคลุม 75.00 %
- ความครอบคลุม % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ให้ข้อเสนอแนะเตือนภัย % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย % - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความทันเวลาแจ้งข่าวระบาด (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความครบถ้วนการสอบสวนการระบาด % - การสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) รวม %

18 สถานีอนามัย

19 สอ.บ้านต้านาล้อม อ.ขุนตาล
ระดับคุณภาพ ดี สอ.บ้านต้านาล้อม อ.ขุนตาล - ความครบถ้วน % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) รวม %

20 สอ.ดงมหาวัน กิ่งเวียงเชียงรุ้ง
ระดับคุณภาพ ดี สอ.ดงมหาวัน กิ่งเวียงเชียงรุ้ง - ความครบถ้วน % - ความทันเวลา % - จัดทำสรุปสถานการณ์โรค % - ความครบถ้วนการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) - ความทันเวลาการสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (ไม่มีกรณีต้องประเมิน) รวม %

21 มาตรฐาน SRRT

22 รายละเอียด แม่สรวย ขุนตาล เวียงป่าเป้า เทิง สสจ. รวม
เวียงเชียงรุ้ง สสจ. มาตรฐานทีมงาน (คะแนน) ผ่าน (10) ผ่าน (10) (7) มาตรฐานความพร้อม (8.5) มาตรฐานเฝ้าระวัง และเตือนภัย (คะแนน) (5.6) (6.2) ไม่ผ่าน (4.8) (8) มาตรฐานการสอบสวนโรค (6.7) (0) (2.5) (3.5) รวม (7.3) (6.4) (5.3) (5.4) (7.2) *หมายเหตุ. คะแนนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน SRRT = 6 คะแนน

23 ขอขอบคุณ ความร่วมมือ ของเครือข่าย SRRT ทุกระดับ


ดาวน์โหลด ppt การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google