งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข
ประชุม กวป. วันที่ 31 มีนาคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

2 ๑.การลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ ทางห้องปฏิบัติการจังหวัดเลย

3 ลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการลง ร้อยละ ๒๐
นโยบาย เพื่อให้การจัดซื้อวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการ ในโรงพยาบาลเครือข่ายบริการที่ ๘ ลดต้นทุน มีประสิทธิภาพ และเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ เขตจึงกำหนดให้มีคณะทำงานลดต้นทุนของจังหวัด โดยให้ รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ด้านเวชกรรมป้องกัน เป็นประธานคณะทำงาน เป้าหมายเขต ๘ ลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการลง ร้อยละ ๒๐ มูลค่าการจัดซื้อร่วมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๒๐

4 คำสั่งจังหวัดเลย ที่ ๑๓๓๒ / ๒๕๕๗ เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ ทางห้องปฏิบัติการจังหวัดเลย ลงวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๗ ประกอบด้วย รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเลย ด้านเวชกรรมป้องกัน ประธานคณะทำงาน นักเทคนิคการแพทย์, นักวิทยาศาสตร์การแพทย์, หรือ เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัดเลย เภสัชกร, เจ้าพนักงานเภสัชกรรม, พยาบาลวิชาชีพ, และ นักวิชาการเงินและบัญชี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย

5 โดยให้คณะทำงาน มีอำนาจหน้าที่
๑. กำหนดแนวทางและมาตรการการลดต้นทุนค่าวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการ ของหน่วยบริการทุกระดับ ในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ได้แก่ การลดการสั่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การลดราราคาต่อหน่วยของวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการ การจัดตั้งเครือข่ายทางห้องปฏิบัติการ ๒. พิจารณากำหนดรายการวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการ ที่จะดำเนินการลดต้นทุน ๓. ดำเนินการต่อรองราคาหรือกำหนดราคาต่อหน่วย และเงื่อนไขในการจัดซื้อวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการ ๔. ออกประกาศและแจ้งเวียนผลการดำเนินการต่อรองราคาหรือกำหนดราคาต่อหน่วยและเงื่อนไข เพื่อใช้เป็นราคาอ้างอิงและเงื่อนไขให้หน่วยบริการถือปฏิบัติ ๕. ควบคุม กำกับ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแนวทางและมาตรการที่กำหนด และรายงานผลการดำเนินงานให้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดเลยทราบและพิจารณา

6 การดำเนินงานที่ผ่านมา
ประชุมคณะทำงานลดต้นทุนวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการจังหวัดเลย ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุม ๑ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย ให้ทุกหน่วยงาน จัดทำฐานข้อมูลมูลค่าการใช้ ของปีงบประมาณ ๒๕๕๖ และแต่ละไตรมาส ให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบความถูกต้องกับฝ่ายการเงิน/บัญชี เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบผลการดำเนินงานในการลดต้นทุน

7 โรงพยาบาล ยอดซื้อปี 55 ยอดซื้อปี 56 ยอดซื้อไตรมาสแรกปี 57 LAB บริหาร เลย 35,441,536.00 8,860,384.00 วังสะพุง 9,011,202.40 8,049,657.70 1,979,902.50 เชียงคาน ด่านซ้าย 551,786.30 935,510.30 4,327,545.80 4,340,910.45 1,036,595.61 880,096.70 ภูกระดึง 4,085,696.00 3,941,334.00 694,176.00 ภูหลวง 3,919,705.00 3,528,804.00 824,185.38 ภูเรือ 2,475,376.00 2,573,846.00 491,969.00 ปากชม 6,294,707.00 8,162,986.77 3,572,533.60 4,177,756.37 878,361.00 ผาขาว 5,470,200.00 7,932,722.00 1,234,954.00 ท่าลี่ 3,416,193.50 3,569,453.50 694,832.75 เอราวํณ 4,472,191.93 4,392,058.80 988,176.00 1,025,720.00 นาด้วง 5,092,049.00 5,615,095.08 2,843,931.90 3,569,897.42 666,174.80 นาแห้ว 1,160,944.00 249,559.00 79,806,155.13 82,678,920.24 18,599,270.04 13,384,480.88

8 กระบวนการกำกับ ติดตาม ยอดซื้อ ราคาต่อหน่วย ยอดเบิกใช้ ยอดจ่ายเงิน
มีการนิเทศติดตามงานในพื้นที่ ประเมินผล ทุก 2-3 เดือน และนำเสนอความก้าวหน้าในที่ประชุม กวป นัดประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ ๒ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๕๗ เพื่อปรึกษาหารือ พิจารณากำหนดรายการวัสดุการแพทย์ทางห้องปฏิบัติการที่จะดำเนินการต่อรองราคา หรือกำหนดราคาต่อหน่วย ฝาก ***ผู้บริหารช่วยตรวจสอบข้อมูล***

9 ผลการดำเนินงานลดต้นทุน
รายการ ค่าเป้าหมาย ปี ๒๕๕๗ มูลค่าจัดซื้อปี ๕๖ ผลการดำเนินงานปี ๒๕๕๗ มูลค่าจัดซื้อ ไตรมาส ๑ ผลต่างข้อมูลปี ๕๗ กับค่าเฉลี่ยไตรมาสปี ๕๖ ร้อยละ ๑.ยา ลดลงมากกว่าร้อยละ ๑๐ ๒๒๗,๖๗๙,๗๐๒ ๕๙,๒๕๙,๕๘๔ ๒,๓๓๙,๖๕๘ เพิ่ม๔.๑๑ ๒.วัสดุเทคนิคการแพทย์ ลดลงมากกว่าร้อยละ ๒๐ ๘๑,๒๒๖,๖๕๑ ๑๙,๐๘๒,๓๕๐ -๑,๒๒๔,๓๑๒ ลด ๖.๐๓ ๓.วัสดุทันตกรรม ๗,๖๑๔,๗๔๘ ๑,๙๕๙,๙๓๗ ๕๖,๒๕๐ เพิ่ม๒.๙๕ ๔.วัสดุการแพทย์ทั่วไปและวัสดุ X-Ray ๙๓,๕๑๐,๒๒๘ -๔,๒๙๕,๒๐๗ ลด๑๘.๓๗ รวม ๔๑๐,๐๓๑,๓๒๙ ๙๙,๓๘๔,๒๒๒ -๓,๑๒๓,๖๑๑ ลด ๓.๐๕

10 ๒.งานพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย เข้าสู่มาตรฐาน Primary GMP

11

12 จัดตั้งทีม Primary GMP 1 ทีม 1 อำเภอ

13 การกำหนดเป้าหมายในการพัฒนา
กลุ่มรายเก่าที่ได้เลข อย.ไปแล้ว ต้องส่งเสริมให้ พัฒนาสถานที่ให้ Primary GMP ก่อนวันที่ ๗ พ.ย. ๒๕๕๘ กลุ่มรายใหม่ที่จะมีการผลิตจะมีการแนะนำ หลักเกณฑ์ วิธีการสร้างโรงเรือน ให้ได้ มาตรฐาน Primary GMP กลุ่มที่มีการทำขายเฉพาะหน้าร้านตนเอง รายที่ พร้อมจะได้มีการส่งเสริมให้เข้าสู่มาตรฐาน Primary GMP เพื่อให้ได้เลข อย. และส่งขาย ได้ห้าง ร้าน ต่างๆ ต่อไป พัฒนาสถานที่ผลิต รายเก่าที่เหลืออีก 47 ให้ได้ Primary GMP ภายในปี 2557 อย่างน้อย 24 ราย คิดเป็น 51 % (คิดเป็น 61% ของสถาน ประกอบการที่มี)

14 สรุปฐานข้อมูล Primary GMP
อำเภอ จำนวนสถานที่ ที่ได้เลข อย. ทั้งหมด รายเก่าที่ผ่าน รายใหม่ที่ผ่าน เมือง 10 1 2 เชียงคาน 7 3 - ด่านซ้าย 6 นาแห้ว ปากชม ผาขาว ภูกระดึง ภูเรือ 13

15 สรุปฐานข้อมูล Primary GMP
อำเภอ จำนวนสถานที่ ที่ได้เลข อย. ทั้งหมด รายเก่าที่ผ่าน รายใหม่ที่ผ่าน ภูหลวง 1 - วังสะพุง 5 เอราวัณ 2 หนองหิน รวม 59 8 4 - ท่าลี่,นาด้วง ไม่มีสถานที่ผลิตรายเก่า ตามแผน มีการตรวจประเมิน พ.ค.-ส.ค. รายเก่าต้องผ่าน Primary GMP ภายใน 7 พ.ย. 2558

16 ๓. สรุปสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร (ผลการตรวจวิเคราะห์หาสารปนเปื้อนด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ กุมภาพันธ์ 2557) โดย หน่วยตรวจสอบเคลื่อนที่

17

18 ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร
อำเภอ ตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ยาฆ่าแมลง บอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา ฟอกขาว รวมทั้งหมด ตรวจ พบปลอดภัย พบ ปลอดภัย พบ/พบปลอดภัย เมือง 364 4 69 55 42 25 555 เชียงคาน ปากชม 10 1 14 ท่าลี่ 38 3 6 5 2 54 ภูเรือ 9 ด่านซ้าย 62 นาแห้ว วังสะพุง 16 21 นาด้วง 20 41 เอราวัณ 8 ภูหลวง 13 หนองหิน 22 66 ผาขาว ภูกระดึง 28 รวม 551 108 85 79 48 871

19 ประเภทสารปนเปื้อนที่ตรวจวิเคราะห์ คิดเป็นร้อยละที่ผ่าน
ลำดับ ประเภทสารปนเปื้อนที่ตรวจวิเคราะห์ จำนวนตัวอย่าง ผลการตรวจวิเคราะห์  คิดเป็นร้อยละที่ผ่าน ผ่านมาตรฐาน ไม่ผ่านมาตรฐาน 1 ยาฆ่าแมลง 551 542 9 98.36 2 สารบอแรกซ์ 108 100 3 ฟอร์มาลีน 85 84 98.82 4 สารกันรา 79 5 สารฟอกขาว 48 6 สารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร 14 11 78.57 รวม 885 872 13 98.53

20 พบยาฆ่าแมลงในตัวอย่างพริกแดง ยอดคะน้า กระหล่ำปลีโหระพา คะน้า พริก คึ่นฉ่าย มะเขือเทศสีดา ผักชีลาว
(คะน้า ผักชีลาวที่โลตัส ,โหระพาที่บิ๊กซี) พบฟอร์มาลีนในตัวอย่างสไบนาง ได้แนะนำผู้จำหน่ายและตรวจสอบซ้ำไม่พบปนเปื้อน พบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดลูกชิ้นและเฟรนฟราย จำหน่ายในงานกาชาด ได้แนะนำให้พักเตา และควรเปลี่ยนน้ำมันทุกวัน

21 ๔.หนี้สิน GPO

22 โรงพยาบาล หนี้ ปี ๒๕๕๔ หนี้ ปี ๒๕๕๕ หนี้ ปี ๒๕๕๖ เลย ด่านซ้าย ๓,๗๘๖,๕๔๑.๐๘ ๓,๕๓๐,๖๘๑.๔๐ ๒,๔๐๓,๘๔๗.๘๑ เชียงคาน วังสะพุง ๒,๓๗๙,๙๐๖.๓๙ ปากชม ๑,๕๗๕,๔๗๘.๕๘ ๗๕๘,๖๙๒.๑๖ ๘๖๐,๖๖๖.๗๒ ท่าลี่ ๑๘๐,๖๒๗.๙๘ ภูกระดึง ๘๑,๐๐๐.๐๐ ๒,๐๘๑,๕๔๑.๑๓ นาแห้ว ภูเรือ นาด้วง ๑,๐๕๐.๐๐ ๒๕๓,๖๙๘.๖๙ ภูหลวง ๘๖๙,๖๖๖.๓๒ ๙๙๗,๓๕๐.๕๗ ๖๕๘,๖๑๓.๓๒ ผาขาว ๖๘,๖๐๓.๕๐ เอราวัณ รวม ๖,๒๓๑,๖๘๕ ๕,๕๔๙,๔๐๒.๑๑ ๘,๗๐๖,๘๗๗.๕๖


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค และเภสัชสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google