สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
Advertisements

การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การกำหนดโครงสร้าง ตาม ว 108 (ว 1)
หลักเกณฑ์ วิธีการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
งานบริหารงานบุคคล กองการเจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี หน้า ๑
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย คณะกรรมการการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2546
มาตรการพัฒนาและบริหารกำลังคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การประเมินบุคคล
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ
การเตรียมความพร้อมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในการปรับเปลี่ยนข้าราชการ
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานทรัพยากรบุคคล การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายวิชาการ พนักงานมหาวิทยาลัยเป็นสายสนับสนุน
ส่วนการเจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดย ผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษา
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
เป็นการย้ายข้าราชการไปแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิม
สาระสำคัญของหนังสือเวียน ว 10/2548 การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสำหรับผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ (ตำแหน่งประเภททั่วไป)และตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะตำแหน่งระดับ.
ชี้แจงการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
แนวปฏิบัติ การขอกำหนดตำแหน่งให้สูงขึ้น ของบุคลากรสายปฏิบัติการ
การสอบคัดเลือกตาม ว 34.
เป็นการย้ายข้าราชการให้ดำรงตำแหน่งในระดับที่ต่ำกว่าเดิมตั้งแต่ระดับ 8
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่
การคัดเลือกฯ ตาม ว 28/2547.
การย้ายข้าราชการไปดำรงตำแหน่งในระดับ 1- 3
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
กองแผนงานละวิชาการ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
สป.สธ.ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการ ด้านการบริหารงานบุคคล
การเตรียมความพร้อม ก่อนเข้าสู่ตำแหน่ง ตาม พ. ร. บ
สป. สธ. ซ้อมความเข้าใจ การจ้างลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ สธ 0201
หลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกบุคคลเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ กรณีตำแหน่งนอกเลื่อนไหล และ ตำแหน่งว่างในสังกัด สสจ./รพศ.,
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียนผู้จ้างงานและผู้รับงานไปทำที่บ้านที่ประสงค์จะเลือกผู้แทนเป็นกรรมการในคณะกรรมการคุ้มครองการรับงานไปทำที่บ้าน.
ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการให้ความเห็นชอบรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกเตรียมเข้าทำงาน ประกาศราชกิจจานุเบกษา.
ประกาศคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการโอนสิทธิตามใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานพ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การทดสอบและออกหนังสือรับรองบุคลากร ส่งเสริมงานความปลอดภัย ในการทำงานเฉพาะด้าน ประกาศ 8 พฤษภาคม 2557.
ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ
งานธุรการ กองการบริหารงานบุคคล
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/ ค่าจ้างประจำ
การจัดตำแหน่งประเภท เจ้าหน้าที่บริหาร......
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา
คำนิยามและขั้นตอนการเสนอหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อบังคับองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ว่า ด้วย การไปศึกษา ฝึกอบรม หรือดูงาน พ. ศ “ ผู้ปฏิบัติงาน ” หมายความว่า พนักงาน พนักงานสัญญาจ้าง พนักงานปฏิบัติการ.
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
หลักเกณฑ์การเปลี่ยนสายงาน (ชื่อตำแหน่ง) ลูกจ้างประจำ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ใช้สำหรับการปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553 เป็นต้นไป
การศึกษาเพิ่มเติม ( ภายในประเทศ ) การศึกษาเพิ่มเติม ( ภายในประเทศ ) งานการศึกษา กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
เรื่อง ปรับแก้ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1/2554
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
แนวปฏิบัติและวิธีการ ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของคณาจารย์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
สรุปสาระสำคัญของการจ้างคณาจารย์ ประจำที่อายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีการจ้างคณาจารย์ประจำที่มีอายุครบ.
เป็นผู้พิจารณากำหนดตำแหน่ง ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไข ที่ ก.พ. กำหนด
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และ วิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพ เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย (ตามประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อ เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ลว.20 มี.ค.52) โดย นายชัชพล โพธิสุวรรณ กองบริหารงานบุคคล

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ยื่นหนังสือแสดงเจตนา ตามรอบที่กำหนด (ข้อ1) ยื่นหนังสือแสดงเจตนา ตามรอบที่กำหนด (ข้อ1) (ห้ามยื่นล่วงหน้าข้ามรอบ) ก่อนเวลา น. และเมื่อได้มีการลงทะเบียนรับหนังสือแสดงเจตนาแล้วจะถอนมิได้ 1.1 รอบที่ 1 วันที่ 2 เมษายน พ.ศ (ยื่นตั้งแต่วันที่ 7 มีนาคม เมษายน 2552) 1.2 รอบที่ 2 วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ (ยื่นตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน ตุลาคม 2552) 1.3 รอบที่ 3 วันที่ 2 เมษายน พ.ศ (ยื่นตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม เมษายน 2553) 1.4 รอบที่ 4 วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ (ยื่นตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน ตุลาคม 2553) 1.5 รอบที่ 5 วันที่ 7 มีนาคม พ.ศ (ยื่นตั้งแต่วันที่ 3 ตุลาคม มีนาคม 2554)

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ส่วนงานแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ (ข้อ 2) ส่วนงานแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ (ข้อ 2) ไม่น้อยกว่า 3 คน ดังนี้ 1. หัวหน้าส่วนงานหรือรองหัวหน้าส่วนงาน เป็นประธาน 2. ผู้เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ 3. ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น เป็นกรรมการ สนง.สภามหาวิทยาลัย สนง.มหาวิทยาลัย และ สนง. ตรวจสอบภายใน แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ สนง.สภามหาวิทยาลัย สนง.มหาวิทยาลัย และ สนง. ตรวจสอบภายใน แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินฯ ไม่น้อยกว่า 3 คน ดังนี้ 1. รองอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมาย เป็นประธาน 2. ผู้เกี่ยวข้อง เป็นกรรมการ 3. ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น เป็นกรรมการ

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย หลักการประเมิน “ถูกต้อง เป็นธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และคำนึงถึงประโยชน์ที่ส่วน งานและมหาวิทยาลัยจะได้รับ” (ข้อ 3) หลักการประเมิน “ถูกต้อง เป็นธรรม โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ และคำนึงถึงประโยชน์ที่ส่วน งานและมหาวิทยาลัยจะได้รับ” (ข้อ 3) ประเมินตามแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ดังนี้ ประเมินตามแบบที่มหาวิทยาลัยกำหนด ดังนี้ ก. สายวิชาการ 1. คณาจารย์ 2. นักวิจัย ข. สายปฏิบัติการ 1. กลุ่มบริหารจัดการ 2. กลุ่มปฏิบัติการและวิชาชีพ 3. กลุ่มบริการ (ลูกจ้างประจำ)

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย การประเมินต้องผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารประจำส่วนงาน การประเมินต้องผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการบริหารประจำส่วนงานแล้วแจ้งให้คณะกรรมการอำนวยการ ประจำส่วนงานเพื่อรับทราบ (ข้อ 4) กรณีสำนักงานสภามหาวิทยาลัย สำนักงานมหาวิทยาลัย และสำนักงานการ ตรวจสอบภายใน การประเมินต้องผ่าน ความเห็นชอบของคณะกรรมการที่อธิการบดีเป็นผู้แต่งตั้ง

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย เกณฑ์การประเมิน (ข้อ 5) เกณฑ์การประเมิน (ข้อ 5) ด้านภารกิจหลักต้องผ่านทุกรายการประเมิน และ ผลรวมของรายการประเมินต้องผ่านสองในสาม ของรายการประเมินทั้งหมด จึงจะผ่านการ ประเมิน สำหรับกรณีผู้อยู่ระหว่างลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติการวิจัย ให้นำผลการปฏิบัติงานก่อนลา ศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติการวิจัย มา พิจารณา สำหรับกรณีผู้อยู่ระหว่างลาศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติการวิจัย ให้นำผลการปฏิบัติงานก่อนลา ศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน ปฏิบัติการวิจัย มา พิจารณา

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย วิธีการและระยะเวลาการประเมิน (ข้อ 6) วิธีการและระยะเวลาการประเมิน (ข้อ 6) 6.1 ให้ข้าราชการและลูกจ้างประจำที่ประสงค์จะ เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ยื่นหนังสือแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ตามแบบที่ เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ยื่นหนังสือแสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ตามแบบที่ มหาวิทยาลัยกำหนด มหาวิทยาลัยกำหนด 6.2 ให้ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นพิจารณาให้ความเห็น เพื่อนำเสนอหัวหน้าส่วนงานภายใน 3 วันทำการ 6.3 ให้หน่วยงานบริหารงานบุคคลของส่วนงาน ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ที่ประสงค์จะเปลี่ยน ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้ที่ประสงค์จะเปลี่ยน สถานภาพพร้อมทั้งนำเสนอคณะกรรมการ สถานภาพพร้อมทั้งนำเสนอคณะกรรมการ ประเมินภายใน 3 วันทำการ ประเมินภายใน 3 วันทำการ

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ให้คณะกรรมการประเมิน ดำเนินการประเมินผู้แสดง เจตนาเปลี่ยนสถานภาพ ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน เจตนาเปลี่ยนสถานภาพ ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ข้าราชการหรือลูกจ้างประจำได้ยื่นแบบ นับตั้งแต่วันที่ข้าราชการหรือลูกจ้างประจำได้ยื่นแบบ แสดงเจตนาต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้น แสดงเจตนาต่อผู้บังคับบัญชาชั้นต้น 6.5 ให้คณะกรรมการประเมิน เสนอผลการประเมินต่อ คณะกรรมการบริหารประจำส่วนงาน สำหรับกรณี สำนักงานสภามหาวิทยาลัย สำนักงานมหาวิทยาลัย สำนักงานตรวจสอบภายใน ให้คณะกรรมการประเมิน สำนักงานตรวจสอบภายใน ให้คณะกรรมการประเมิน เสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการที่อธิการบดี เสนอผลการประเมินต่อคณะกรรมการที่อธิการบดี เป็นผู้แต่งตั้ง ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ประเมิน เป็นผู้แต่งตั้ง ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ประเมิน แล้วเสร็จ แล้วเสร็จ

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ให้ส่วนงานแจ้งผลการประเมินให้ผู้แสดง เจตนาทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ เจตนาทราบภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ พิจารณาแล้วเสร็จ พิจารณาแล้วเสร็จ 6.7 ให้ส่วนงานเสนอผลการประเมินของผู้ที่ ประสงค์จะขอเปลี่ยนสถานภาพทุกรายมายัง ประสงค์จะขอเปลี่ยนสถานภาพทุกรายมายัง มหาวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ มหาวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ พิจารณาแล้วเสร็จ พิจารณาแล้วเสร็จ

สรุปสาระสำคัญของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อเปลี่ยนสถานภาพเป็น พนักงานมหาวิทยาลัย ผู้ไม่ผ่านการประเมินอาจแสดงเจตนา เปลี่ยนสถานภาพในรอบต่อไปได้ (ข้อ 7) ผู้ไม่ผ่านการประเมินอาจแสดงเจตนา เปลี่ยนสถานภาพในรอบต่อไปได้ (ข้อ 7) กรณีไม่ผ่านการประเมินเห็นว่าผลการ ประเมินไม่เป็นธรรม อาจยื่นร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ประจำ มหาวิทยาลัย (ข้อ 8) กรณีไม่ผ่านการประเมินเห็นว่าผลการ ประเมินไม่เป็นธรรม อาจยื่นร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมการอุทธรณ์และร้องทุกข์ประจำ มหาวิทยาลัย (ข้อ 8)