งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ (Knowledge Management)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคคลที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติราชการให้สอดคล้องกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามพระราชกฤษฎีกานี้ (พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ.๒๕๔๖มาตรา 11)

2 ขั้นตอนการดำเนินงานการจัดการความรู้ระดับกรมฯ
ประกาศแต่งตั้งทีมงาน KM และ CKO (Chief Knowledge Officer) หน้าที่และความรับผิดชอบ 2.1 CKO (Chief Knowledge Officer) มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1. ให้การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ เช่น ทรัพยากร 2. ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมประชุมเพื่อการตัดสินใจแก่คณะทำงาน

3 2.2 ทีมงาน KM 1. หัวหน้าทีม มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้
1.1 อำนวยการในการจัดทำแผนการจัดการความรู้ในองค์กรเพื่อนำเสนอประธาน 1.2 รายงานผลการดำเนินงานและความคืบหน้าต่อประธาน 1.3 ผลักดันติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข 1.4 ประสานงานกับคณะทีมงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

4 2.2 ทีมงาน KM 2. เลขานุการ KM Team มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้
2.1 นัดประชุมคณะทำงานและทำรายงานการประชุม 2.2 รวบรวมรายงานความคืบหน้าและการดำเนินงาน 2.3 ประสานงานกับคณะทีมงานและหน้าหน้า KM Team 3. KM Team มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ 3.1 ดำเนินการตามแผนงานที่ได้รับมอบหมาย 3.2 จัดทำรายงานความคืบหน้าของงานในความรับผิดชอบ 3.3 เป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการจัดการความรู้ 3.4 เป็น Master Trainer ด้านการจัดการความรู้

5 ขอบเขต KM (KM Focus Area)
ฝึกอบรมเพื่อสร้างจิตสำนึกในการดำเนินกิจกรรม สร้างศูนย์เรียนรู้ด้านเกษตรและสหกรณ์ โครงการหุบกะพง (ศูนย์นำร่อง) แผนพัฒนากลุ่มเกษตรกรที่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานให้ได้มาตรฐาน ออกเอกสารสิทธิ์ในการจัดที่ดินทำกิน

6 เป้าหมาย KM (Desired State)
องค์กรสามารถทำฐานข้อมูลด้านสหกรณ์สำหรับศูนย์การเรียนรู้ด้านเกษตรและสหกรณ์ (ดำเนินการเสร็จภายในปี 2549) องค์กรสามารถจัดทำฐานความรู้เกี่ยวกับวิทยากรเครือข่ายด้านสหกรณ์ องค์กรสามารถจัดทำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

7 งานKMที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพรได้ดำเนินการแล้ว
แต่งตั้งคณะทำงานกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) ตามคำสั่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพร ที่ 5/2551 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2551 แต่งตั้งคณะทำงานสร้างชุดความรู้ ตามคำสั่งสำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพร ที่ 9/2551 ลงวันที่ 22 เมษายน 2551 แบ่งกลุ่มจัดการความรู้ (KM) จำนวน 4 กลุ่ม) รวบรวมประเด็นการพัฒนาความรู้จากกลุ่มได้จำนวน 4ประเด็น จัดส่งชุดความรู้ของกลุ่มให้คณะทำงานกระบวนการจัดการความรู้ ประมวลความรู้ จัดทำ และปรับปรุงเนื้อหาในรูปแบบเอกสาร และเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทาง หรือทางเลือกให้ทุกคนได้นำไปใช้...

8 งานKMที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพรได้ดำเนินการแล้ว
7. จัดทำมุมความรู้ส่วนกลาง (ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศ) ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดชุมพร มีคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 เครื่อง ที่รวบรวมข้อมูลสารสนเทศของหน่วยงานฯ พร้อมระบบ LAN และ INTERNET จัดทำชั้นเอกสาร ตำรา หนังสือแจ้งเวียน ระเบียบข้อบังคับทางราชการ กฎหมายต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน จัดทำแผนผัง ขั้นตอนการลดรอบระยะเวลาของกระบวนงานแผนผังสำนักงานฯ และระบบสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google