การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ ๒ ห้อง ๓ โดยใช้ชุดกิจกรรม ผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีสุนทร การชัยศรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
Advertisements

ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อทบทวน วิชาโปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่อง งานนำเสนอข้อมูลด้านมัลติมีเดียนักเรียนปวช.2.
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์วิโรจน์ เด่นวานิช
นาสาวกนกรดา นิ่มละมูล การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ วิชาการใช้ คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ.
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
สมาคมโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.

ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
การพัฒนาเกมซ่อนคำศัพท์ภาษาอังกฤษมหาสนุก
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพรธนา ช่วยตั้ง
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางชุติพัทธ์ ช่างประดิษฐ์ วิทยาอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
“การศึกษาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บในการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยทฤษฎีทางเทคโนโลยีการศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (E-learning) วิชาหลักการตลาด ของนักศึกษาคู่ขนาน.
โรงเรียนระยองพาณิชยการ ผู้วิจัย นางประนอม ยางสง่า
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง ศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ การเขียน เรื่องชนิดของคำ วิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
3 rd largest economy world’s วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมลบริหารธุรกิจ is the การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชา คอมพิวเตอร์และ ระบบปฏิบัติการเบื้องตัน ของนักศึกษาระดับ.
ชื่อเรื่อง การใช้แนวการสอนพหุประสาทสัมผัสเพื่อส่งเสริมความสามารถทางการจดจำคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ผู้วิจัย นางสาวปวีณา.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย ความพึงพอใจของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพที่ มีต่อการเรียนวิชาโครงการ นางสาวภณิดา ปรัชญชรินกร.
ผู้วิจัย จุฬารัตน์ มหาชัย
เรื่องระบบจำนวน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ ๒ ห้อง ๓ โดยใช้ชุดกิจกรรม ผู้วิจัย ว่าที่ร้อยตรีสุนทร การชัยศรี สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา

ปัญหาการวิจัย ปัจจุบันวิวัฒนาการต่าง ๆ ของโลกกำลังพัฒนาสู่สากลมากขึ้น แต่การศึกษาของไทยกำลังถอยหลังลงคลองในบางเรื่อง โดยเฉพาะการเรียนการสอนในรายวิชาการประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต เด็กไทยทุกวันนี้ให้ความสนใจการเรียนวิชาการประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ตและอินทราเน็ต น้อยลง คิดว่าการเขียนเว็บเพจเป็นเรื่องที่ยากและน่าเบื่อ เรียนไปแล้วนำไปใช้ในชีวิตได้ไม่ค่อยเป็นรูปธรรม จึงทำให้ผู้วิจัยต้องการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสร้างเว็บเพจของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ ๒ ห้อง ๓ โดยใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อดูความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ความสนใจในบทเรียนของนักเรียน และนำผลที่ได้นั้นมาปรับปรุงการเรียนการสอนให้ดียิ่ง ๆ ขึ้นต่อไป

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างแบบฝึกทักษะให้มีประสิทธิภาพ ๘๐ /๘๐ ๒. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมของ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ปีที่ ๒ ห้อง ๓ สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๓. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรม

ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม วัตถุประสงค์ จากการศึกษาหลักการ แนวคิด และประโยชน์ของชุดกิจกรรมของ เบญจวรรณ ใจหาญ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผู้วิจัยจึงกำหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยได้ดังนี้ ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น ผลสัมฤทธิ์ของชุดกิจกรรม ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม ความพึงพอใจจากการเรียนด้วยชุดกิจกรรม ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม การสร้างเว็บเพจ

สรุปผลการวิจัย ๑. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 จากผลการทดลองพบว่า ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 มีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องมาจาก การเรียนรู้จากชุดกิจกรรมจะช่วยให้ผู้เรียนช่วยเหลือกัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น การอภิปราย ทำให้การเรียนมีความสนุก ได้รับความรู้โดยทั่วกัน สอดคลองกับแนวคิดของพรศรี ดาวรุงสวรรค (2548: 15) ที่สรุปไววา ชุดกิจกรรมทําใหผูเรียน มีอิสระในการเรียนรูและสามารถแกปญหาในสถานการณตางๆ ที่พบ ดวยตนเอง ไดฝกทักษะกระบวนการคิดดานตางๆ เรียนรูไดตลอดเวลา และทุกสถานที่ย้ําใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น เมื่อผูเรียนยังเกิดความไมเขาใจก็สามารถนํามาศึกษาเรียนรูไดอยูเสมอ แมกระทั่งอาจจะลืมเรื่องที่เรียนมาแลว และยังชวยพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหเกิดประสิทธิภาพ ผลพบว่า ค่าประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 มีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ๒. ผลวิเคราะห์การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลัง การทดลองใช้ชุดกิจกรรม จากผลการทดลองพบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังทดลองใช้ชุดกิจกรรมสูงกว่าก่อนทดลองใช้ชุดกิจกรรม เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยแล้วพบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ วราภรณ์ ตระกูลสฤษณ์(๒๕๔๕ : บทคัดย่อ) และวิทยา อารีราษฎร์ (๒๕๔๙ : บทคัดย่อ) ที่ศึกษาวิจัยในด้านการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรม ผลพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้น

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ๓. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจ จากผลการทดลองพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในทุก ๆ ด้านในระดับมากที่สุด ทั้งนี้เนื่องมาจาก การที่ได้เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ชุดกิจกรรม เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมกลุ่ม และร่วมกันแสดงความคิดเห็น การอภิปราย ทำให้การเรียนมีความสนุก ได้รับความรู้โดยทั่วกัน ดังนั้น กิจกรรมยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุก ๆ คน ได้มีโอกาสร่วมแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้ของตนเอง หรือการอภิปรายในประเด็นต่าง ๆ ผ่านแบบทดสอบ จึงมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด สอดคลองกับแนวคิดของพรศรี ดาวรุงสวรรค (2548: 15) ที่สรุปไววาชุดกิจกรรมทําใหผูเรียน มีอิสระในการเรียนรูและสามารถแกปญหาในสถานการณตางๆ ที่พบดวยตนเอง ไดฝกทักษะกระบวนการคิดดาน ตางๆ เรียนรูไดตลอดเวลา และทุกสถานที่ ทั้งยังทำใหเกิดความเขาใจในเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น เมื่อผูเรียนยังเกิดความไมเขาใจก็สามารถนํามาศึกษาเรียนรูไดอยูเสมอ แมกระทั่งอาจจะลืมเรื่องที่เรียนมาแลว และยังชวยพัฒนาศักยภาพของผูเรียน ใหเกิดประสิทธิภาพ ผลพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด