การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กับการจัดการ เรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรม กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เป็นวิธีการสอนทักษะอย่างหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทักษะ ผู้เรียนทางด้านสติปัญญา ทักษะ ทัศนคติโดยการมี ปฏิสัมพันธ์กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในกลุ่มย่อยให้ผู้เรียนมีส่วน ร่วมในการวิเคราะห์เรียนรู้กระบวนการต่าง ๆ ผู้วิจัยหวังว่า การสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์จะแก้ไข ข้อบกพร่องได้และ สามารถส่งผลต่อการพัฒนาการเรียน การสอนวิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1 ให้ดีขึ้นอีก ผู้วิจัยจึงสนใจ ที่จะศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1
ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่ม สัมพันธ์ กับการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ ดังนั้น กระบวนการกลุ่มจึงเป็นวิธีการสอน นอกจากพัฒนาทักษะของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ แล้ว ยัง ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจทักษะตนเอง เข้าใจผู้อื่น และค้นพบ สิ่งต้องการเรียนรู้ด้วยตนเอง ภายหลังจากที่ได้ทำ กิจกรรมร่วมกับกลุ่ม ผู้เรียนได้รู้ทักษะจากเพื่อนโดยการ เลียนแบบ จึงทำให้ผู้เรียนมีความสามารถภายหลังจากที่ ได้ทำกิจกรรมกลุ่ม
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กับการจัดการเรียนการ สอนแบบสืบเสาะหาความรู้
ตาราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเครื่องกล ไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ รวม ( ก ) คะแนนรวมหลังเรียน – คะแนนรวมก่อนเรียน 45 ( ข ) ( จำนวนนักเรียน X คะแนนเต็ม ) – คะแนนรวมก่อน เรียน 62 ค่าดัชนีประสิทธิผล = ( ก ) / ( ข ) ร้อยละความก้าวหน้า 72.58
ตาราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเครื่องกล ไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นสูงชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดย การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ รวม ( ก ) คะแนนรวมหลังเรียน – คะแนนรวมก่อนเรียน 34 ( ข ) ( จำนวนนักเรียน X คะแนนเต็ม ) – คะแนนรวมก่อน เรียน 65 ค่าดัชนีประสิทธิผล = ( ก ) / ( ข ) ร้อยละความก้าวหน้า 53.30
1. พบว่า ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 28 และผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 73 เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล จากการเรียน พบว่า ผลที่ได้เท่ากับ แสดงให้ เห็นว่าการใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์สามารถ พัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ร้อยละ 72.58
2. พบว่า ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน เท่ากับ 25 และผลรวมคะแนนทดสอบหลังเรียน เท่ากับ 59 เมื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผล จากการเรียน พบว่า ผลที่ได้เท่ากับ แสดงให้ เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สามารถพัฒนาการเรียนรู้และเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้นได้ร้อยละ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่าการเรียนการสอนแบบกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์มี ประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้
จบการนำเสนอขอบคุณครับ