งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน
เรื่อง “การสอนซ่อมเสริมเรื่องการบวก ลบ เศษส่วนของนักศึกษาระดับ ปวช. 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน รายวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 โดยแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่อง” ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน

2 ปัญหาการวิจัย ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษาระดับปวช.1 เกี่ยวกับ การบวก ลบ เศษส่วน ซึ่งจัดเป็นพื้นฐานเบื้องต้น จากการทดสอบ ปรากฏว่า นักศึกษาไม่สามารถบวก ลบ เศษส่วนคิดเป็นร้อยละ 50 ของนักศึกษาที่ทำการ ทดสอบ จากการตรวจแบบทดสอบ และจำแนกข้อผิดพลาดได้หลายประการ ทดสอบจากการตรวจแบบทดสอบ และจำแนกข้อผิดพลาดได้หลายประการ เช่น 1.บวกลบเศษส่วนทั้งที่ส่วนไม่เท่ากัน 2.นำจำนวนคูณเศษแต่ไม่คูณส่วน เป็นต้น เมื่อพิจารณาจากปัญหาต่างๆ พบว่านักศึกษาขาดทักษะในการคิด การคำนวณ ไม่ทราบสูตรคูณ ไม่ทราบกฎเกณท์ การบวก ลบ เศษส่วน จึงทำให้เรียนรู้ ได้ช้า ทำแบบฝึกหัดไม่ได้ จึงเกิดปัญหาลอกกัน เป็นปัญหาต่อการเรียน คณิตศาสตร์เรื่องอื่นๆ ต่อไป

3 วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องเพื่อสอนซ่อมเสริม 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ชั้น ปวช. 1 ด้วยแบบฝึกทักษะเฉพาะเรื่อง การบวก ลบ เศษส่วน 3. เพื่อวัดเจตนคติของนักศึกษาต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้แบบฝึกหัด เฉพาะเรื่อง

4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ของนักศึกษา ระดับชั้นปวช.1/4 ทดสอบความแตกต่างของคะแนนสอบระหว่างก่อนและหลังการทดสอบโดยใช้สถิติ t-test แบบ dependent samples’ ตารางที่ 1.1 แสดงค่ามัชฌิมเลขคณิต ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และหาค่า t จำนวน 40 คน ตารางที่ 1.1 คะแนน N S.D. t ก่อนเรียน 40 9.37 2.48 3.15 หลังเรียน 20.30 3.45 จากตารางที่ 1.1 แสดงให้เห็นว่าค่ามัชฌิมเลขคณิตของผลลัพธ์ก่อนเรียนได้เท่ากับ 9.37 และหลังเรียนได้เท่ากับ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานก่อนเรียนเท่ากับ 2.48 และหลังเรียนเท่ากับ 3.45 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เรื่องการบวกลบเศษส่วน หลังเรียนด้วยแบบฝึกหัด เฉพาะเรื่องสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

5 ตารางที่ 2.1 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์เจตนคติของนักศึกษาที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1/4 ที่ใช้แบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกหัดเฉพาะเรื่อง ตารางที่ 2.1 แสดงค่ามัชฌิมเลขคณิต ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความหมายของเจตนคติของนักศึกษา ที่มีต่อวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษา 1/4 ข้อความ S.D. ความหมาย 1.วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เป็นวิชาที่น่าสนใจ 3.50 2.87 ดีมาก 2.นักเรียนส่วนใหญ่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 3.56 2.79 3.วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.50 0.50 ดีมากที่สุด 4.เป็นความเชื่อแต่เดิมว่าวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เป็นวิชาที่ยาก 3.66 2.66 5.วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เป็นวิชาที่เรียนเข้าใจยาก 3.63 2.70 6.ผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ส่วนใหญ่เข้มงวดในการเรียนการสอน 4.03 2.06 7.แบบฝึกหัดในวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เข้าใจยาก 4.00 2.12 8.พื้นฐานในการเรียนคณิตศาสตร์ไม่ดีพอ 3.76 2.52 9.ผู้สอนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 สอนได้สนุกน่าสนใจ 3.83 2.41 10.ผู้เรียนขาดความเชื่อมั่นในการนำข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 2.83 3.53 รวม 3.73

6 สรุปผลการวิจัย 1. ได้พัฒนาแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องเพื่อสอนซ่อมเสริม 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องหลังการเรียน สูงกว่าก่อน การเรียนอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 3. นักศึกษามีเจตนคติต่อ วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ หลังจากเรียนแบบฝึกหัดเฉพาะเรื่องอยู่ในระดับที่ดีมาก คือมีเจตนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ หลังจากเรียนดีขึ้น ( > 3.5)

7 กิจกรรม

8 กิจกรรม


ดาวน์โหลด ppt ผู้วิจัย นางวรรณา อนะมาน สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการราชดำเนิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google