นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคตัวต่อ วิชาคอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบัติการเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ.
Advertisements

วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
เข้าร่วมประกวดผลงานวิจัยประเภทการเรียนการสอน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
นางสาวจุฑารัตน์ ลุนพงษ์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 3 เรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิติโดยใช้ชุดฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.2 แผนกช่างอุตสาหกรรม.
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
ผู้วิจัย นางสาวจินตนา เชื้อเมืองพาน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.

ชื่อเรื่องวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้านการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนยีวิมล.
วิทยาลัยอาชีวศึกษาสันติราษฎร์ ในพระอุปถัมภ์ฯ
1. 2 ปัญหาของการวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยี วิมล ศรีย่าน  จุดมุ่งหมายของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 กำหนดให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
วิจัยประเภทการเรียนการสอน
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้

ผลงานวิจัยเรื่อง “ ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียน วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วนโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาจากการเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
ว่าที่เรือตรีไชยา วิเชียนล้ำ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
นางสาวอัญชลี คำแปง วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลศรีย่าน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นายวีระชัย ทะจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
การพัฒนาการเรียนผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน html ประกอบวิชา กิจกรรมวิชาการ 2 สำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะ การแก้โจทย์ปัญหา เรื่อง อนุพันธ์
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
***นำเสนอผลงานวิจัย***
งานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง พัฒนาการสอนแบบสาธิตร่วมกับการลงมือปฏิบัติเรื่อง การตะไบผิวเรียบเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อาจารย์ ว่าที่ ร.ต. ศุภกร.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสุกัญญา พลรัตนมงคล วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การพัฒนาทักษะการการปูเตียง ด้วยสื่อมัลติมีเดีย
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาพิมพ์ดีดไทย 1 โดยใช้แบบฝึกกลุ่มคำสั้น ๆ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 1 โดย นางสุกัญญา พลรัตนมงคล.
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
นางสาวถนอมนวล ฐาปนพงษ์ไพบูลย์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
อาจารย์นริสรา คลองขุด
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การใช้ชุดฝึกทักษะ การบันทึก รายการเกี่ยวกับสินค้า ใน สมุดรายวันเฉพาะ วิชาบัญชีเบื้องต้น 2 สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรง.
นางสาววัชรา เชื้อรามัญ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่องวิจัย การศึกษาผลการสร้างประโยค Wh-Questions โดยใช้ฉลากผลิตภัณฑ์ภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาระดับประกาศวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด.
นางสาวทิพย์วรรณ จะปูน วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร เชียงใหม่
ปัญหา 1 นักศึกษามีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์ต่ำมาก ปัญหา 2 นักศึกษาไม่สามารถนำทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปใช้ใน การปัญหาต่างๆใน ชีวิตประจำวันได้
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียแบบ
นักศึกษาขาดทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในด้านการจำแนกสาร และสมบัติของสาร นักศึกษาไม่สามารถจำแนกชนิด ของสารได้ นักศึกษาไม่สามารถบอกสมบัติของ สารชนิดต่างๆได้
โดย นางกุหลาบ พรหมจันทร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
โดย นายยิ่งเจริญ บุญยัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) การศึกษารูปแบบการสอนโดยใช้ใบงานใน รายวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างยนต์ ชั้นปีที่ 2 นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

ปัญหาการวิจัย กระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องอาศัยเทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่ต้องมีการวัดและการประเมินผลอย่างหลากหลายโดยคำนึงถึงความแตก ต่างระหว่างบุคคลและผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน ผู้วิจัยจึงตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรอบรู้ มีทักษะที่สำคัญตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรมากน้อยเพียงใด โดยใช้ใบงานหรือแบบทดสอบเป็นตัววัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลปรากฏว่า นักศึกษาที่เรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างยนต์ ปีที่ 2 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำกว่าเกณฑ์ จึงสนใจที่จะหาประสิทธิภาพของใบงานที่ใช้ในการเรียนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างยนต์ ปีที่ 2 ให้เป็นไปตามเกณฑ์ E1 / E2 = 80 / 80

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างใบงานวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ให้มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ E1 / E2 = 80 / 80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างยนต์ ปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อใบงานวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาช่างยนต์ ปีที่ 2

จำนวนนักศึกษาทั้งหมด (N) ตารางผลการวิจัย การทดสอบ จำนวนนักศึกษาทั้งหมด (N) คะแนนเต็ม (A) และ(B) ผลรวมคะแนน เฉลี่ย ( ) คะแนนใบงานที่ 1-4 50 40 1,715 คะแนนผลสัมฤทธิ์การเรียน 1,781

* มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (= ±1.6425) ตารางผลการวิจัย * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (= ±1.6425) การทดสอบ จำนวนนักศึกษาทั้งหมด (N) คะแนนเต็ม (A) และ (B) ผลรวมคะแนน เฉลี่ย ( ) คะแนนก่อนเรียน (4 ใบงาน) 50 40 1,687 คะแนนหลังเรียน ค่าคำนวณจากตาราง t – test = -2.223

ตารางผลการวิจัย รายการการประเมิน ค่า และ ลำดับที่ ระดับ ค่า และ ลำดับที่ ระดับ ด้านเนื้อหาและการดำเนินเรื่อง 4.37 และ 12.77 4 มาก ด้านภาพ และภาษา 4.41 และ 12.54 3 มากที่สุด ด้านตัวอักษรและสี 4.51 และ 14.16 2 ด้านใบงาน 4.57 และ 13.96 1 รวม 4.47 และ 13.36 -

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ข้อมูลเกี่ยวกับการหาประสิทธิภาพของใบงาน 1. การหาประสิทธิภาพของใบงานตัวแรก ค่าประสิทธิภาพของใบงานในการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกช่างอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 85.75 ของคะแนนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ประสิทธิภาพของใบงานตัวแรกที่กำหนดไว้คือ 80 2. การหาประสิทธิภาพของใบงานตัวหลัง ค่าประสิทธิภาพของใบงานในการเรียนการสอนในรายวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ แผนกช่างอุตสาหกรรม ชั้นปีที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 89.05 ของคะแนนทั้งหมด ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ประสิทธิภาพของใบงานตัวหลังที่กำหนดไว้คือ 80

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำแนกตามคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ผลปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 3 แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อใบงานวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ภาพโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.45, S.D = 13.25) แต่พิจารณาแต่ละรายการ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 6 รายการ อยู่ในระดับมาก จำนวน 11 รายการ สำหรับ รายการที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ความเหมาะสมของรูปแบบตัวอักษรที่ใช้ในใบงาน ( = 4.64, S.D = 14.97) ส่วนรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เนื้อหามีความสอดคลองกับวัตถุประสงค์ ( = 4.24, S.D = 13.17) และเมื่อพิจารณาความพึงพอใจต่อใบงานทั้ง 4 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.47, S.D = 13.36)

สรุปผลการวิจัย (ต่อ) ส่วนที่ 3 แบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อใบงานวิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 2 รายการ อยู่ในระดับมาก จำนวน 2 รายการ สำหรับ รายการที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ ความเหมาะสมทางด้านใบงาน ( = 4.57, S.D = 13.96) ส่วนรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านเนื้อหาและการดำเนินเรื่อง ( = 4.37, S.D = 12.77)