โครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย บทที่ 2 โครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย และคนกลางทางการตลาด
โครงสร้างช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรง ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม ช่องทางตรง ช่องทางอ้อม ผู้ผลิต คนกลาง ลูกค้า
ระดับของช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม คนกลาง ผู้บริโภค ผู้ใช้ทางอุตสาหกรรม ผู้ผลิต ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าบริโภค
โครงสร้างและระดับของ ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าบริโภค ช่องทางตรง ผู้ผลิต ผู้ค้าปลีก ช่องทาง 0 ระดับ ช่องทาง 1 ระดับ ผู้บริโภค ตัวแทน ช่องทาง 2 ระดับ ผู้ค้าส่ง ช่องทาง 3 ระดับ ผู้ค้าอิสระ ช่องทางอ้อม โครงสร้างและระดับของ ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าบริโภค
โครงสร้างและระดับของ ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม ผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่ายสินค้า อุตสาหกรรม ช่องทาง 0 ระดับ ช่องทาง 1 ระดับ ผู้ใช้ทาง อุตสาห- กรรม ช่องทาง 2 ระดับ ตัวแทนผู้ผลิต ช่องทางอ้อม ช่องทางตรง โครงสร้างและระดับของ ช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าอุตสาหกรรม
คนกลางทางการตลาด คนกลางทางการตลาด ( Marketing Intermediaries ) เป็นธุรกิจอิสระที่ช่วยผู้ผลิตและผู้ซื้อเจรจาต่อรองและกระจายสินค้า 1. ประเภทของคนกลางทางการตลาด แบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ 2.1. คนกลางซื้อขายสินค้า 2.2. ตัวแทนอำนวยความสะดวก
2.บทบาทและความสำคัญ ของคนกลางทางการตลาด 2.1 คนกลางช่วยทำให้การติดต่อในช่องทางการจัดจำหน่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 คนกลางช่วยจำแนกแยกแยะผลิตภัณฑ์ 2.3 คนกลางช่วยให้การดำเนินงานทางการตลาดเป็นไปอย่างปกติ 2.4 คนกลางช่วยเสาะหา
ก. จำนวนครั้งการติดต่อ M x C = 4 x 5 = 20 การจัดจำหน่ายโดยตรง M 1 M 2 M 3 M 4 C 1 C 2 C 3 C 4 C 5 ก. จำนวนครั้งการติดต่อ M x C = 4 x 5 = 20 จะเห็นได้ว่า การติดต่อในช่องทางการตลาด โดยไม่ผ่านคนกลาง จะมี จำนวนครั้งการติดต่อถึง 20 ครั้ง
การจัดจำหน่ายโดยผ่านคนกลาง 1 ราย การจัดจำหน่ายโดยผ่านคนกลาง 2 ราย I 1 M1 M2 M3 M4 C 1 C 2 C 3 C 4 C 5 I 2 การจัดจำหน่ายโดยผ่านคนกลาง 2 ราย จำนวนครั้งการติดต่อ I (M+C) = 1 (4+5) = 9 จำนวนครั้งการติดต่อ I (M+C) = 2 (4+5) = 18
??? จากตารางเปรียบเทียบการจัดจำหน่าย โดยใช้คนกลางและไม่ใช้คนกลาง การจัดจำหน่ายโดยตรง M 1 M 2 M 3 M 4 C 1 C 2 C 3 C 4 C 5 ก. จำนวนครั้งการติดต่อ M x C = 4 x 5 = 20 การจัดจำหน่ายโดยผ่านคนกลาง 1 ราย I 1 M1 M2 M3 M4 I 2 การจัดจำหน่ายโดยผ่านคนกลาง 2 ราย จากตารางเปรียบเทียบการจัดจำหน่าย โดยใช้คนกลางและไม่ใช้คนกลาง จะเห็นได้ว่า เมื่อมีคนกลางเข้ามาช่วยจัดจำหน่าย จะช่วยลดการติดต่อระหว่างผู้ผลิตกับลูกค้า ซึ่งการลดลงของจำนวนครั้งในการติดต่อ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อกับลูกค้าด้วย ???
3. การกำหนดจำนวนคนกลางในช่องทางการจัดจำหน่าย 3.1 ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบหนาแน่น 3.2 ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบเลือกสรร 3.3 ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบผูกขาด 3.1 ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบหนาแน่น 3.2 ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบเลือกสรร 3.3 ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบผูกขาด
การกำหนดจำนวนผู้ค้าคนกลาง ในช่องทางการจัดจำหน่าย
จัดจำหน่ายแบบหนาแน่น จัดจำหน่ายแบบเลือกสรร เลือกซื้อ/เจาะจงซื้อ -นาฬิกาโรเล็กซ์ -น้ำหอมกุชชี่ -จักรเย็บผ้าจูกิ เจาะจงซื้อ จัดจำหน่ายแบบผูกขาด หนึ่งร้าน สูงที่สุด ตลาดเฉพาะกลุ่ม ขั้นแนะนำ/ ถดถอย -โทรทัศน์พานาโซนิค -ปากกาปาร์คเกอร์ -เสื้อเชิ้ตแอร์โรว์ -ผงซักฟอกบรีส -น้ำอัดลมโค้ก เป๊ปซี่ -ขนมปังฟาร์มเฮ้าส์ ตัวอย่าง จัดจำหน่ายแบบหนาแน่น จัดจำหน่ายแบบเลือกสรร แบบกำหนดจำนวน ผู้ค้าคนกลาง มากที่สุด บางร้าน จำนวนร้าน สะดวกซื้อ เลือกซื้อ/เจาะจงซื้อ ประเภทสินค้า ต่ำ สูงกว่า ระดับราคา/คุณภาพ ตลาดมวลชน ลักษณะตลาดเป้าหมาย ขั้นเจริญเติบโต/ อิ่มตัว เจริญเติบโต วงจรชีวิตผลิตภัณฑ์
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION