บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 13 ธุรกิจการเกษตร
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
การวางแผนกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
นางกาญจนา แย้มลักษณะเลิศ
เรื่อง ธุรกิจในชีวิตประจำวัน
รหัส หลักการตลาด.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
รายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
หน่วยเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
บทที่ 4 การแปรรูป และการผลิตสินค้าอาหาร
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
MK201 Principles of Marketing
MK201 Principles of Marketing
ผลิตสินค้าและบริการ.
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
การวางแผนกลยุทธ์.
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ใช้
ด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Economic Institute เพื่อสนองความต้องการของตนเองทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ กระบวนการการแสวงหาอาหาร การผลิตอาหาร การบริโภคต่างๆ.
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
เป็นที่ไว้วางใจของผู้ บริโภค
จัดทำโดย ด.ญ.ดวงเดือน รักนุ้ย ชั้น ป.4/2 เลขที่31
บทที่ 3 แรงจูงใจในการทำงาน.
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
บทเรียนการเป็นผู้นำนวัตกรรมเทคโนโลยีที่พ่ายแพ้
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
หน่วยที่ 7 หลักการจัดการ.
บทที่10 ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
บทที่ 4 การพยากรณ์ทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน และงบประมาณ (Financial Forecasting Planning and Budgeting) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต.
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
งานส่งเสริมเคหกิจเกษตร
การปลูกพืชผักสวนครัว
การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2554
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
กระบวนการทางเศรษฐกิจ
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
รหัส หนังสือหมวดวิชาชีพพื้นฐาน หลักเศรษฐศาสตร์
บทที่6 การควบคุมคุณภาพและปริมาณ
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
บทที่ 4 เทคโนโลยี.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่าง กว้างขวางทำให้เกิดการติดต่อด้านเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ สร้างตลาดการค้า การ แข่งขัน การส่งออก การบริการ การลงทุนและ.
บทที่ 8 ผลิตภัณฑ์การบริหารการผลิต
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
บทที่1 การบริหารการผลิต
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
วิชา หลักการตลาด บทที่ 5
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
เศรษฐกิจพอเพียง นางสาวสุนิสา จันทร์ตะบูน ชั้น ปวช 1 เลขที่ 20 กลุ่ม 2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร บทที่ 2 หลักการดำเนินงานอุตสาหกรรมเกษตร เป้าหมายมูลฐานของการดำเนินธุรกิจ เพื่อให้ธุรกิจดำเนินกิจการอยู่ได้โดยไม่เกิดการชะงักงัน (survival) เพื่อให้ธุรกิจมีการเจริญเติบโต ก้าวหน้าเพิ่มขึ้น (growth)

องค์ประกอบสำคัญในการดำเนินการอุตสาหกรรมเกษตร วัตถุดิบ มีทั้งวัตถุดิบหลักและวัตถุดิบประกอบ ตลาด ต้องมีตลาดเพื่อจะได้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ให้ได้มากที่สุด และครองตลาดได้มาก เงินทุน มีทั้งงบลงทุนและงบดำเนินงาน กำลังคน ต้องมีทั้งผู้ประกอบการและผู้ดำเนินงาน การจัดการ เพื่อให้อุตสาหกรรมดำรงอยู่ได้และเจริญก้าวหน้า เครื่องจักร และอุปกรณ์

ความแตกต่างของอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอื่น ด้านวัตถุดิบ - วัตถุดิบของอุตสาหกรรมเกษตรเป็นสิ่งชีวภาพ เปลี่ยนแปลงเสื่อมเสียตามธรรมชาติ - วัตถุดิบได้จากเกษตรกรรม อาจแปรปรวนตามอิทธิพลสิ่งแวดล้อม - วัตถุดิบจะมีเฉพาะฤดูกาล - วัตถุดิบมิได้ถูกนำมาเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมเพียงอย่างเดียว ยังเป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์โดยตรงได้ด้วย

ความแตกต่างของอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอื่น (ต่อ) 2. คุณภาพทางประสาทสัมผัส ผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรมเกษตรที่ใช้อุปโภค บริโภคมนุษย์มีความต้องการคุณภาพด้านประสาทสัมผัสเพิ่มจาด้านอื่นๆ โดยเฉพาะสินค้าบริโภคมิใช่เพียงแค่ว่ากินอิ่มเท่านั้นยังต้องอร่อยด้วย 3. การควบคุมป้องกันการเสื่อมเสียของวัตถุดิบ ต้องควบคุมป้องกันการเสื่อมเสียทั้งวัตถุดิบที่จะเข้ากระบวนการแปรรูปและผลิตภัณฑ์ที่ได้เพราะผลิตภัณฑ์เกษตรเป็นสิ่งชีวภาพ อาจเกิดการเสื่อมเสียจากตัวเอง จากสภาพแวดล้อม และจากศัตรูภายนอกได้ด้วย

ความแตกต่างของอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอื่น (ต่อ) 4. การจัดการ - ด้านการจัดการผลิตวัตถุดิบ เพื่อให้ได้ปริมาณวัตถุดิบเพียงพอต่อการผลิตอย่างต่อเนื่อง และให้ได้วัตถุดิบที่มีคุณภาพต่างต้องการ - ด้านการจัดการให้มีการใช้แระโยชน์จากผลพลอยได้และของเหลือ คือให้ใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบได้เต็มที่ สูญเปล่าน้อยที่สุด

ความสำคัญของอุตสาหกรรมเกษตร ยืดอายุการใช้ประโยชน์จากผลิตผลทั้งจากธรรมชาติและจากการเกษตร สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับวัตถุดิบ ใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และของเหลือ ควบคุมป้องกันมลภาวะ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สร้างเสถียรภาพในการดำรงชีวิต