งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย
สถานการณ์ปลาของประเทศไทย 27 มกราคม 2552 สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย

2 หัวข้อนำเสนอ อย่างยั่งยืน 1. ผลผลิตสัตว์น้ำจืด ประเทศไทย
1. ผลผลิตสัตว์น้ำจืด ประเทศไทย 2. อัตราการบริโภคปลาน้ำจืด 3. สถานการณ์การเพาะเลี้ยงปลาปี 2552 4. แนวทางพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาในประเทศไทย อย่างยั่งยืน 5. แนวโน้มการเพาะเลี้ยงปลาปี 2553

3

4 ผลผลิตสัตว์น้ำจืด

5

6 อัตราการบริโภคปลาน้ำจืด

7 สถานการณ์การเพาะเลี้ยงปลาปี 2552
1. เกษตรกรยังมีความต้องการสายพันธุ์ปลาที่มีคุณภาพ และมีปริมาณต่อเนื่องเพียงพอ 2. เกษตรกรยังต้องการความรู้และเทคนิคการเลี้ยงปลาเพื่อลดต้นทุนการเลี้ยง และเพิ่มคุณภาพผลผลิต 3. ขาดแหล่งเลี้ยงที่มีความเหมาะสม ทำให้การเลี้ยงต้องหยุดชะงัก ในช่วงขาดน้ำ 4. เกษตรกรมีการปรับปรุงฟาร์ม แต่ยังต้องการเงินทุน เช่น ปรับปรุงฟาร์มให้ได้ GAP, จดบันทึกข้อมูล, ปรับปรุงสุขาภิบาล เป็นต้น 5. ผู้บริโภคให้การยอมรับในคุณภาพของปลาที่มาจากการเลี้ยงมากขึ้น 6. ผู้บริโภคต้องการทราบข้อมูลปลาน้ำจืดมากขึ้น

8 แนวทางพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาในประเทศไทย อย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ 1Œ สร้างความสามารถทางการผลิต ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างมาตรฐานและความได้เปรียบทางการค้า ยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการบริโภคปลาที่ได้มาตรฐานในประเทศ

9 ยุทธศาสตร์ที่ 1Œ สร้างความสามารถทางการผลิต
1. ปรับปรุงพันธุ์ปลาให้มีคุณภาพ เช่น โตเร็ว, ทนต่อโรค, อัตราแลกเนื้อต่ำ, ผลิตได้ปริมาณต่อเนื่องเพียงพอ ฯลฯ 2. กำหนดชนิดพันธุ์ปลาที่จะให้เลี้ยงเพื่อส่งออก หรือเลี้ยงเพื่อบริโภคในประเทศ 3. สร้างมาตรฐานฟาร์มเพาะ เช่น สุขอนามัยในฟาร์มเพาะ, การเก็บอุปกรณ์ฟาร์ม 4. จัดหาแหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ สำหรับใช้ปรับปรุงฟาร์มเพาะฟักและฟาร์มเลี้ยง 5. รัฐจัดหาสาธารณูปโภค (Infrastructure) ที่เหมาะสมต่อการเลี้ยง เช่น ถนน, ไฟฟ้า, ระบบชลประทาน, แรงงานถูกกฎหมายให้พอเพียง เป็นต้น

10 ปรับปรุงพันธุ์ปลาให้มีคุณภาพ

11 ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างมาตรฐานและความได้เปรียบทางการค้า
1. กำหนดมาตรฐานสินค้าปลาในประเทศ เช่น ผ่านมาตรฐาน Food Safety, GAP, Q MARK ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการผลิตและผู้บริโภคทราบ 2. พัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) - สนับสนุนและสร้างสิ่งดึงดูด (Incentive) จูงใจให้ภาคเอกชนลงทุนสร้างระบบโรงงานแปรรูปสัตว์น้ำ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์, แหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ - โครงการโควต้าลดภาษีเมื่อใช้วัตถุดิบในประเทศ เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขัน - เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจรับรองผลิตภัณฑ์ปลาเพื่อส่งออกในราคาที่ผู้ประกอบการยอมรับได้ 3. ตรวจสอบมาตรฐานปลาที่จะนำเข้า เช่น ใบรับประกันสัตว์น้ำ (Certificate), ตรวจ สอบการบิดเบือนตลาด และการอุดหนุนส่งออกของประเทศคู่ค้า

12

13 ยุทธศาสตร์ที่ 3 สนับสนุนการบริโภคปลาที่ได้มาตรฐานในประเทศ
1. ส่งเสริม มาตรฐานด้านสุขอนามัยของสถานประกอบการ, บริโภคปลาที่ปรุงสุกแล้ว 2. ประชาสัมพันธ์เรื่อง ปลาน้ำจืดที่ได้จากการเลี้ยงที่ถูกต้อง, สะอาด ตลอดจนคุณค่าทางโภชนาการที่ดีให้ผู้บริโภคทราบ 3. กิจกรรมเสริม เช่น ดูแลสุขภาพด้วยอาหารที่ทำจากปลาในสถานพยาบาล, รณรงค์ให้บริโภคปลา โดยผ่านสื่อต่างๆ, ประกวดเมนูปลาอนามัย เป็นต้น

14

15

16 เปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม
(แหล่งข้อมูล : USDA Nutrient Data Lab)

17 แนวโน้มการเพาะเลี้ยงปลาปี 2553
1. มาตรฐานการเพาะเลี้ยงปลา เช่น ในกระชัง ในบ่อปูน เป็นต้น ได้รับการปรับปรุง ให้ดีขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค 2. เกษตรกรต้องวางแผนการผลิตโดยใช้วิชาการเลี้ยงปลาที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพผลผลิตและลดต้นทุนการผลิตลงได้ ตลอดจนเลือกปัจจัยการผลิตที่ดี 3. การเลี้ยงปลาในประเทศไทยจะก่อให้เกิดอาชีพเพิ่ม เช่น ขนส่งปลา, ทออวน, จับปลา, ร้านอาหารรูปแบบต่างๆ ฯลฯ ต้องส่งเสริมให้มีความยั่งยืนต่อไป

18 ภาพการเลี้ยงมาตรฐาน กระชัง

19 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการเลี้ยงสัตว์น้ำ
พันธุ์ดี อาหารดี การตลาดดี การสุขาภิบาลดี การจัดการดี

20 มีการจัดการ เลือกแหล่งน้ำที่ดี

21 แหล่งเลี้ยงดี อาหารคุณภาพดี

22 การกระจายสินค้าและจุดจำหน่าย

23 Modern Trade

24 Modern Trade

25 Modern Trade

26 Traditional Trade

27 Mobile

28 ปลาไทย อร่อย ปลอดภัย ได้สุขภาพ วันนี้ คุณกินปลาแล้วรึยัง

29 จบการนำเสนอ

30


ดาวน์โหลด ppt สมาคมผู้เพาะเลี้ยงปลาไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google