Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คนึงนิตย์ หีบแก้ว ธันยกานต์ สินปรุ พุทธชาติ เรืองศิริ
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
การศึกษาสาเหตุของผู้เรียนที่มีต่อการไม่ส่ง งานตามกำหนดระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปวช. ปีที่ 1 รอบบ่ายกลุ่ม 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน วิทยาลัยเทคโนโลยี
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางสาวพรศิริ กลิ่นบำรุง วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการสยามในพระอุปถัมภ์ ฯ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1

วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ผู้วิจัย : ว่าที่ร้อยโทนรินทร์ ดารุณศิลป์
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การวิเคราะห์วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในช่วงปี พ.ศ Analysis of Master’s Thesis in Social Studies.
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การใช้โปรแกรม GSP พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
โดย นางสาวพอใจ สาธุการ
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
การประเมินพฤติกรรมการ เรียนของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2 ) สาขาการตลาด ปี การศึกษา 2555 ผู้วิจัย นายฉัตรชัย ภักดีนอก ตำแหน่ง อาจารย์ประจำฝ่ายวิชาการ.

----- ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาสื่อการ์ตูนมัลติมีเดียสำหรับการสอนวิชา SPSS ชื่อผู้วิจัย นางเขมิกา ภาคเกษี สังกัดวิทยาลัย.
พฤติกรรมผู้เรียน การเป็นพลเมืองไทยพลโลก วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ นางสอางค์ แจ่มถาวร วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
การศึกษาองค์ประกอบการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อใน วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ นางสาวธัญศญา ธรรมิสกุล วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ.
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
นางรัชนี กิจฉวี วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
นางสาวสุฑารัตน์ ตั้งถาวร โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.

ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม (สยามเทค) กรุงเทพมหานคร
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางดวงพร อินทจักร วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จ.ลำพูน

นายภูวดล เพ็ญนาดี วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ชื่อผู้วิจัย ประชิด เกิดมาก

วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การแก้ปัญหานักเรียนขาดการกระตือรือร้นในการเรียนภาคปฏิบัติ วิชางานเชื่อมและโลหะแผ่นเบื้องต้นของนักเรียนชั้น ปวช.1/1 ช่างยนต์ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
นายวิฑูรย์ พิริยะอนันต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
การศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบริหารธุรกิจอยุธยา A Study Of Job Satisfaction Of Ayutthaya Business Administration School Employees.
ชื่อผลงานวิจัย การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การบริหารวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นายรัตนวุธ บุญเทียบ.
ชื่อเรื่อง ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบเกมวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชื่อเรื่องวิจัย ความสุขมวลรวมของครูและนักเรียนวิทยาลัย เทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ชื่อผู้วิจัย อาจารย์พิมพ์ใจ เขียวขาว ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

ความเป็นมาและปัญหาวิจัย จากแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่มุ่งเน้นการสร้างระบบจัดการ เพื่อใหเกิดการบริโภคสูงสุด จะเป็นแรงผลักดันมนุษย์ให้เกิดการแข่งขันและการบริโภค จนละเลยเรื่องของจิตใจและศีลธรรมเพราะเป็นเรื่องคุณค่าที่จับต้องไม่ได้ มีความเชื่อว่าหากบริโภคมากก็ยิ่งมีความสุขมากขึ้น โดยมองข้ามการทํางานที่ซับซ้อนในจิตใจของมนุษย์ พื้นฐานของความเชื่อเรื่องระบบตลาดทําให้เกิดความเขาใจผิด คือยังไม่เขาใจว่าอะไรทําให้มนุษย์มีความสุขอย่างแท้จริง

ความเป็นมาและปัญหาวิจัย (ต่อ) หากพิจารณาถึงหลักธรรมทางศาสนาและการปฏิบัติของแต่ละศาสนาแล้ว จะพบว่าความสุขเป็นประสบการณ์ที่เกิดจากภายในจิตใจมนุษย์ของทุกคน หากได้รับการพัฒนาจิตใจก็จะพบความบริบูรณ์ ความพึงพอใจ เกิดการแบงปันกับผู้อื่น ปราศจากการแข่งขันพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข (นาวาตรีภูวดล ศิริพงษ์ รน., 2553)

ความเป็นมาและปัญหาวิจัย (ต่อ) จากปัญหาดังกล่าววิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ได้คำนึงถึงความสุขของครูและนักศึกษา จึงได้ดำเนินการสำรวจในเรื่องความสุขมวลรวมของครูและนักศึกษา เพื่อที่วิทยาลัยจะได้ทราบถึงระดับความสุขมวลรวมของครูและนักศึกษา

วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research objectives) 1. เพื่อศึกษาระดับความสุขมวลรวมของครูและนักศึกษาในวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) 2. เพื่อเป็นแนวในการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารงานที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายความอยู่เย็นเป็นสุขของครูและนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) ให้สอดคล้องกับสภาพการเปลี่ยนแปลงในสังคมปัจจุบัน

กรอบแนวคิดในการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัย จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องผู้วิจัยได้กรอบแนวคิด ดังนี้

ผลการวิจัย ปัจจัยส่วนบุคคลของครูและนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ ( SBAC ) พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็น ร้อยละ 58.21 มีอายุต่ำกว่า 15-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 96.82 นับถือศาสนาพุทธ คิดเป็นร้อยละ 97.98 มีระดับการศึกษาปวช. คิดเป็นร้อยละ 71.76 มีรายได้ครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน 10,001-20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 44.38 มีรายได้พอกับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ 70.32 มีที่อยู่อาศัยเป็นบ้านตนเอง คิดเป็นร้อยละ 58.21 ไม่ได้ทำงาน คิดเป็นร้อยละ 55.04

ผลการวิจัย (ต่อ) ความสุขมวลรวมของครูและนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ ( SBAC ) โดยรวม พบว่า ความสุขมวลรวมของครูและนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ ( SBAC ) โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ย= 0.71)

ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความสุขมวลรวมของนักศึกษาในระดับชั้นอื่น ๆเพื่อพัฒนาปรับปรุงกิจกรรมของวิทยาลัยฯให้นักศึกษามีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีความปลอดภัยและปรับพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความภูมิใจในตนเอง มีสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นปัจจัยผลักดันให้นักศึกษามีความสุขมากขึ้น แบบสอบถามที่ได้จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้เป็นแบบสอบถามในการวิเคราะห์ความสุขมวลรวมของวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ต่อไป ควรสนับสนุนให้มีการทำวิจัยในเรื่องความสุขมวลรวมโดยใช้หลักธรรมา- ภิบาลในการปกครองของผู้นำทั้งในโรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย