งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: ""— ใบสำเนางานนำเสนอ:

6 นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์
เรื่อง การพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ วิจัยโดย นางสาวไอลดา วัฒนสิทธิ์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)

7 ปัญหาในการวิจัย ด้วยทางวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC) มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลิกภาพโดยกำหนดคุณลักษณะ 5 ประการ คือ มีวินัย ใฝ่เรียนใฝ่รู้ บุคลิกภาพ สุขอนามัย เศรษฐกิจพอเพียง พบว่านักศึกษาบางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องบุคลิกภาพที่ดีและไม่ให้ความร่วมมือหรือขาดความรับผิดชอบในการปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของทางวิทยาลัยฯ ทำให้นักศึกษาแต่งกายไม่สุภาพ มาเรียนไม่ตรงเวลา พูดจาไม่สุภาพ ไม่ส่งงาน ไม่เข้าร่วมกิจกรรมของทางวิทยาลัยฯ ซึ่งการพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลจะกระทำได้นั้น เราต้องทราบเสียก่อนว่าบุคคลนั้นจะมีบุคลิกภาพอย่างไร อันนำมาซึ่งการค้นหาสิ่งที่ดีเพื่อการส่งเสริมสนับสนุน หรือค้นหาส่วนบกพร่องเพื่อการปรับปรุงแก้ไขต่อไป ทั้งนี้เพราะบุคลิกภาพของบุคคลสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงได้ตามประสบการณ์ที่เราเรียนรู้มาตลอดชีวิต บุคลิกภาพของบุคคลเปลี่ยนแปลงไปตามวัยและการเจริญเติบโตได้เหมือนร่างกาย ส่วนใดที่บกพร่องก็สามารถปรุงแต่งให้ดีขึ้น

8 กลุ่มตัวอย่างและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ประชากร นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขางานบัญชี สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขางานภาษาต่างประเทศและสาขางานการท่องเที่ยว จำนวน 215 คน กลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยเปิดตารางของ Krejciec and Morgan โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจงกับนักศึกษา และใช้วิธีการสุ่มอย่างง่ายกับนักศึกษา ได้จำนวน 136 คน วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสำรวจก่อนและหลังของการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ

9 การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป จำนวน (n=136) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง สาขาของนักเรียน คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การบัญชี ภาษาต่างประเทศ การท่องเที่ยว 52 84 46 54 20 16 38 62 33.8 39.8 14.7 11.7

10 การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
ตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ จำนวน (N) X S.D. t (P) ก่อนพัฒนาบุคลิกภาพ 136 4.24 0.33 15.323 .000 หลังพัฒนาบุคลิกภาพ 4.52

11 การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ ที่ รายการ ระดับความคิดเห็น ของนักเรียน (N 136) ผลการ ประเมิน เกณฑ์การตัดสิน X S.D. 1 นักศึกษาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของวิทยาลัยฯ 4.65 0.54 ดีมาก ผ่าน เกณฑ์ 2 นักศึกษามาเรียนตรงเวลา 4.52 0.70 ผ่านเกณฑ์ 3 นักศึกษามีมารยาทที่แสดงออกทางกายอย่างเหมาะสม 4.46 0.65 ดี 4 นักศึกษามีอารมณ์ขัน ยิ้มแย้มแจ่มใส 4.61 0.50

12 การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ ที่ รายการ ระดับความคิดเห็น ของนักเรียน (N 136) ผลการ ประเมิน เกณฑ์การตัดสิน X S.D. 5 นักศึกษาใช้คำพูดที่สุภาพ สร้างสรรค์ต่อตนเองและผู้อื่น 4.53 0.57 ดีมาก ผ่านเกณฑ์ 6 มีวิจารณญาณในการตัดสินใจดี 4.47 0.62 ดี 7 มีความคิดสร้างสรรค์และความจำดี 4.41 0.59 8 นักศึกษาส่งงานและการบ้านตรงเวลาที่กำหนด 4.49 0.61

13 การวิเคราะห์ข้อมูลสำคัญ
ตารางที่ 3 ความพึงพอใจของนักศึกษากับการพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ ที่ รายการ ระดับความคิดเห็น ของนักเรียน (N 136) ผลการ ประเมิน เกณฑ์การตัดสิน X S.D. 9 นักศึกษาทำผิดระเบียบจะพยายามแก้ไขโดยไม่ย่อท้อ 4.52 0.62 ดีมาก ผ่านเกณฑ์ 10 เป็นผู้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดี 4.45 0.65 ดี 11 เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ขาดเรียน ไม่หนีเรียน 4.63 0.56 12 เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของทางวิทยาลัยฯ สม่ำเสมอ 4.54 0.64 รวม 0.61

14 สรุปผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการเป็นการสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 โดยใช้ทฤษฎีแรงจูงใจ พบว่าโดยภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ย คือ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สอดคล้องกับนักศึกษาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของวิทยาลัยฯ มีค่าเฉลี่ย รองลงมา คือ เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ขาดเรียน ไม่หนีเรียน มีค่าเฉลี่ย และน้อยที่สุดคือ มีความคิดสร้างสรรค์และความจำดี

15 สรุปผลการวิจัย


ดาวน์โหลด ppt

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google