วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ Wimol Business Adiministration Technology College งานวิจัย “ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้จังหวะดนตรีประกอบการควงขวดและการผสมเครื่องดื่ม ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 สาขางานการโรงแรม วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ” โดย .... นายอามร จุลคำ
ปัญหาการวิจัย จากการเรียนการสอนวิชาเครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม พบว่านักศึกษาขาดทักษะการผสมเครื่องดื่มและความกล้าแสดงออกในการใช้ลีลาท่าทางการควงขวดในการผสมเครื่องดื่ม ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาปัญหาทางการเรียนโดยใช้จังหวะดนตรีประกอบการควงขวดและการผสมเครื่องดื่ม วิชาเครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม เรื่องบาร์เทนเดอร์ เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจเรื่องการควงขวดผสมเครื่องดื่ม ทั้งไม่ใช้จังหวะดนตรีประกอบและใช้จังหวะดนตรีประกอบ
วัตถุประสงค์ - เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้นักศึกษามีความกล้าแสดงออกมากขึ้น - เพื่อช่วยให้นักศึกษาที่มีปัญหาทางการเรียนให้มีความเข้าใจในการเรียนมากขึ้น - เพื่อช่วยให้นักศึกษามีทักษะในการควงขวดผสมเครื่องดื่มของงานบาร์เทนเดอร์ มากขึ้น
ตารางสรุปความสำคัญ เฉลี่ย 83.50 ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่าร้อยละและลำดับของคะแนนเฉลี่ย จากการทำแบบทดสอบในแบบฝึกแต่ละชุด ลำดับชุดแบบทดสอบ N คะแนนเต็ม X (S.D.) ร้อยละ ไม่ใช้จังหวะดนตรี 35 20 16.14 1.43 80.71 ใช้จังหวะดนตรี 17.26 0.82 86.28 เฉลี่ย 83.50
ตารางสรุปความสำคัญ ตารางที่2 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล 35 11.71 1.62 การทดสอบ N X S.D. ∑D t -test ไม่ใช้จังหวะ 35 11.71 1.62 204 3.85 5.28 ใช้จังหวะ 17.54 1.07
สรุปผลการวิจัย 1. แบบฝึกการควงขวดมีค่าประสิทธิภาพ 83.57/87.71 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึก วิชาเครื่องดื่มและการผสมเครื่องดื่ม เรื่องบาร์เทนเดอร์ หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ประโยชน์ - เป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆ - ช่วยให้นักศึกษามีทักษะการควงขวดในการผสมเครื่องดื่มมากขึ้น
จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ