“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2556/57
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
การประชุมแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน 31 มีนาคม 2553 ณ ลานทองอุทยานวัฒนธรรมลุ่มน้ำโขง แผนพัฒนาลุ่มน้ำในเขตอำเภอแม่จัน.
“รักษ์ป่าน่าน” “รักษ์ป่าน่าน”
สรุปผลการศึกษาผลตอบแทนการปลูกยางพาราในรอบปี 2555
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
เศรษฐกิจพอเพียง.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
Green Village บ้านคลองกั่ว หมู่ 7 ต.เขาพระ อ.รัตภูมิ จ. สงขลา.
งานวิจัยลุ่มน้ำน่านสกว.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
การพัฒนาลุ่มน้ำปิงตอนล่างแบบบูรณาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
องค์กรภาครัฐในส่วนกลางในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การใช้ทรัพยากรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ผลการดำเนินงาน โครงการแก้ไขปัญหาความยากจน กข.คจ. จำนวน 43 กองทุน เงินทุนจำนวน 13,678,306 บาท กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 48 กลุ่ม เงินสัจจะสะสม.
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2,099 สภาพภูมิศาสตร์ อำเภออมก๋อยมีพื้นที่ทั้งหมด 2, ตารางกิโลเมตรหรือคิดเป็นพื้นที่ 1,365,
การจัดทำคำของบประมาณรายจ่าย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
โครงการเรดด์พลัส (REDD Plus)
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การกำหนดคำนิยาม “ ไม้นอกเขตป่า (TROF) ”
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
แผนเตรียมพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข
แผนที่ตำบลหนองไฮ อำเภอเสนางคนิคม จังหวัดอำนาจเจริญ
โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ภูมิหลังด้านทรัพยากรพันธุกรรม
EAST WATER สนับสนุนกิจกรรมปลูกป่าในพื้นที่ป่าชุมชน
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
โครงการแก้ปัญหาภัยพิบัติโดยชุมชน บ้านห้วยลากปืนใน ต. ห้วยไร่ อ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
เขื่อนชีบน และ เขื่อนยางนาดี จังหวัดชัยภูมิ
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอเมืองลำพูน
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
สรุปข้อมูลเกษตรกร จังหวัดน่านที่มีรายได้ ๑๘๐,๐๐๐ บาท
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
กระบวนการการทำงานชุมชน
ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์
ตำบลคำไฮใหญ่ อำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี
โครงการอ่างเก็บน้ำธารประเวศ อ.เกาะพงัน จ.สุราษฎร์ธานี
การพัฒนาพื้นที่พิเศษ
เกษตรทฤษฎีใหม่.
สรุปการประชุมระดมความคิด
ความหมายและความสำคัญเกษตรทฤษฎีใหม่
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
MRCF การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการไถระเบิดดินดาน
แผนงบประมาณ ปี 2558 – 2561 งบประมาณ ล้านบาท
ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนตามแนวพระราชดำริ (โรงเรียนแก้จนคนท้องถิ่น อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่)
การบรรยายสรุป การสำรวจพื้นที่เพื่อจัดทำ และสนับสนุนโครงการนำ ร่อง : บ้านผาปูน อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ กนก ฤกษ์เกษม และนริศ ยิ้มแย้ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลการดำเนินงานตามระบบ MRCF อำเภอบึงนารางจังหวัดพิจิตร ปี 2557 การพัฒนาตามนโยบายและ แนวทางการส่งเสริมการเกษตร MRCF ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของสำนักงานเกษตรอำเภอบึงนาราง.
การวิจัย และองค์ความรู้จากโครงการหลวง
วาระแห่งชาติด้านการเกษตร (National Agenda)
ประวัติความเป็นมา เมื่อวันที่ 5 มกราคม 2540 สมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จเยี่ยมราษฎรที่ บ้านทิพุเย หมู่ที่ 3 ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ และได้มี
โครงการฝายยางลำเซบาย ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง จังหวัดอำนาจเจริญ
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ” “รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ” บัณฑูร ล่ำซำ

พื้นที่จังหวัดน่าน ทั้งหมด 7,651,585.93 ไร่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ 6,541,696.53 ไร่ ปลูกพืชไร่ในพื้นที่ป่าสงวนฯ 1,394,449.81 ไร่ เหลือพื้นที่ป่า 5,147,246.72 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชไร่บนที่สูง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ กิโลเมตร

พื้นที่ป่าไม้จังหวัดน่าน ปี 2507-2557 จำนวนพื้นที่ (ล้านไร่) 7.00 2507 6.50 6.00 2547 2551 5.50 2556 5.00 2557 4.50 4.00 ปี 2507 2517 2527 2537 2547 2551 2556 2557

ความเดิม ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ติดตามผลการฟื้นฟูและรักษาป่าด้วยคณิตศาสตร์ (จากดาวเทียม) 2. กำหนดหน่วยรับผิดชอบเป็นตำบล 3. สรรหาองค์กร หน่วยงาน ที่มีความรู้จำเพาะ ไปสนับสนุน - บริหารดิน - น้ำ - พันธุกรรมศาสตร์ - การตลาดกับสากล - การจัดการสังคมท้องถิ่น

ความเห็นเกี่ยวกับชุมชน ชุมชนในป่าน่านมีจิตวิญญาณดี หาทางแก้ไขปัญหาระยะยาว 2. ผู้นำมีความสามารถ ได้แก่ นายกอบต. กำนัน ประธานสภาองค์กรชุมชน 3. ได้รับการสนับสนุนตามสมควร

ประเด็นบีบคั้น ของที่เคยเป็นรายได้ง่ายๆ เช่น ข้าวโพด ยางพารา - พึ่งไม่ได้ - ราคาผันผวน 2. หนี้ครัวเรือนค่อยๆ สูงขึ้น

เข้าใจปัญหา “รักษ์ป่าน่าน” สมมุติฐาน “ ถ้าคนมีพอกินพอใช้ จะไม่ตัดป่า อีกทั้งจะคืนผืนป่า ”

“ไม่มีน้ำพอใช้ในการเพาะปลูกตลอดปี” ปัญหาพื้นฐาน “ไม่มีน้ำพอใช้ในการเพาะปลูกตลอดปี”

โครงการเก็บกักน้ำ ขนาดของโครงการ อุปสรรค 1. ใหญ่ (แม่น้ำ) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2. กลาง (อ่างเก็บน้ำ/ฝาย) - ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - ทับที่ป่าสงวน - ทับที่ชาวบ้าน - งบประมาณ 3. เล็ก (อ่างเก็บน้ำ/ฝาย) งบประมาณ 4. จิ๋ว (อ่างเก็บน้ำ/ฝาย) งบประมาณ

อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก น้ำปอน ต.ปอน อ.ทุ่งช้าง ความจุไม่เกิน 260,000 ลบ.ม. ขนาด 84x6 ม.ทำนบดินสูง 15 ม. ความช่วยเหลือครอบคลุม 4 หมู่บ้าน งบประมาณ 5 ล้านบาท

อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ต.ปิงหลวง อ.นาหมื่น ความจุไม่เกิน 3,435 ลบ.ม. ขนาด 35x5 ม. ทำนบดินสูง 6 ม. ความช่วยเหลือครอบคลุม 3 หมู่บ้าน งบประมาณ 1.98 ล้านบาท

โครงการอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง 1. น้ำกุ๋ย ต.เมืองจัง อ.ภูเพียง 2. สมุน ต.สะเนียน อ.เมืองน่าน 3. น้ำริม ต.แสนทอง อ.ท่าวังผา 4. น้ำปัว ต.สถาน อ.ปัว 5. น้ำยาว (ตอ.) ต.อวน อ.ปัว 6. น้ำฮิ ต.ขุนน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ 7. แม่ขะนิง ต.แม่ขะนิง อ.เวียงสา 8. ห้วยหลอด ต.ผาสิงห์ อ.เมืองน่าน 9. น้ำยาว (ตต.) ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว 10. ห้วยหลอด ต.ปงสนุก อ.เวียงสา 11. น้ำมอบ ต.ส้านนาหนองใหม่ อ.เวียงสา 12. น้ำกอน ต.เชียงกลาง อ.เชียงกลาง 13. น้ำแงน ต.ปอน อ.ทุ่งช้าง 14. ห้วยน้ำมีด ต.เปือ อ.เชียงกลาง 15. ห้วยชื่น ต.ทุ่งศรีทอง อ.เวียงสา 16. น้ำกิ ต.ผาตอ อ.ท่าวังผา 17. ฝายน้ำยาว ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา

ความเพียงพอของอ่างเก็บน้ำ/ฝายในจังหวัดน่าน ขนาดโครงการ จำนวนอ่างเก็บน้ำ/ฝาย ที่เพียงพอ จำนวนอ่างเก็บน้ำ/ฝาย ที่มีในปัจจุบัน - ? 1. ใหญ่ 15 อ.X 3 = 45 ? 2. กลาง 3. เล็ก 99 ต.X 6 = 594 ? 99 ต.x 9 = 891 ? 4. จิ๋ว

อาการของความล้มเหลว 1. ตัดป่าเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มพื้นที่เพาะปลูก 2. ใส่สารเคมีเร่งผลผลิต ทำให้การประปาชุมชนเสีย 3. หนี้ครัวเรือนสูง

หน่วยงานภาครัฐที่น่าจะมีบทบาท 1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมป่าไม้ - กรมทรัพยากรน้ำ 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมชลประทาน - กรมการข้าว และ กรมพัฒนาที่ดิน - กรมส่งเสริมการเกษตร 3. จังหวัดน่าน 4. กองทัพบก

ข้อสรุป “น้ำต้องมาก่อน”

แนวทางเพิ่มคุณค่าผลผลิตการเกษตร เพื่อนำไปสู่รายได้ที่เพียงพอกับชีวิต เพิ่มผลผลิตในพืชเดิม - ข้าว ข้าวโพด ยางพารา 2. เปลี่ยนเป็นพืชอื่นที่มีมูลค่าสูง - ผัก ผลไม้สด สมุนไพร 3. แปรรูป - อาหารระดับสูง ยารักษาโรค 4. สร้างยี่ห้อสินค้า (Branding) ขายความเป็น “น่าน” 5. ระบบจัดส่งสินค้า (Logistics) - ตัดคนกลาง - ผ่านโลกอินเทอร์เน็ต

ตะบันน้ำ ต.บัวใหญ่ อ.นาน้อย

“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ” “รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ” บัณฑูร ล่ำซำ