งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
สำหรับโครงการพัฒนาแหล่งน้ำระดับรายงานเบื้องต้น (Reconnaissance Report : RR) กลุ่มเศรษฐกิจและสังคม สำนักบริหารโครงการ 17 มกราคม 2557

2 ผังกระบวนการ การจัดทำรายงานเบื้องต้น (RR)

3 ความสำคัญ การศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคม
ภาพรวมของสภาพเศรษฐกิจ สังคม และประชากร การศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ การวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น

4 ระดับการศึกษา 1. ศึกษาภาพรวมของพื้นที่ 2. ข้อมูลทุติยภูมิ
สำนักงานเกษตรจังหวัด, อำเภอ องค์การบริหารส่วนตำบล สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ข้อมูลทุติยภูมิ

5 การศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคม
1. ด้านเศรษฐกิจ 1) พื้นที่และการใช้ประโยชน์ 2) สภาพดิน 3) ลักษณะการเกษตร 4) รายได้-รายจ่ายของครัวเรือน

6 การศึกษาด้านเศรษฐกิจ-สังคม
2. ด้านสังคม 1) ประชากรและครัวเรือน 2) ระบบสาธารณูปโภค 3) สภาพปัญหา 4) ความคาดหวัง/ข้อเสนอแนะ 5) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

7 บทที่ 3 สภาพเศรษฐกิจ สังคมและการเกษตร
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมในรายงาน RR บทที่ 3 สภาพเศรษฐกิจ สังคมและการเกษตร เดิม แนวทางปรับปรุง 3.1 ประวัติพื้นที่โครงการ 3.2 การปกครองและประชากร 3.3 การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3.4 การประกอบอาชีพและเศรษฐกิจท้องถิ่น 3.1 การปกครองและประชากร 3.2 การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3.3 ระบบสาธารณูปโภค 3.4 สภาพปัญหาในปัจจุบัน 3.5 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.6 การใช้ประโยชน์ที่ดิน 3.7 ลักษณะการเกษตร ที่มา : การศึกษาวางโครงการเบื้องต้น โครงการอ่างเก็บน้ำแม่งัดตอนบน, 2552

8 การศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์โครงการในรูปต้นทุน-ประสิทธิผล(Cost-Effectiveness Analysis) C/E = ค่าใช้จ่ายที่เป็นเงินตรา ผลผลิตและผลลัพธ์ (ผลกระทบ) ที่ไม่เป็นเงินตรา = ต้นทุนค่าก่อสร้างโครงการ (บาท) ปริมาณน้ำใช้ประโยชน์ (ลูกบาศก์เมตร) = ………. บาท/ลูกบาศก์เมตร

9 ส่วนต่างที่เพิ่มขึ้น คือผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการมีโครงการ
คำนิยาม 1. มีและไม่มีโครงการ (With and Without project) กำหนดสถานการณ์เพื่อให้ทราบหรือวัดอิทธิพลของโครงการอย่างแท้จริง ตย. พื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝนที่มีผลตอบแทนระดับหนึ่ง เมื่อมีโครงการชลประทาน มีผลตอบแทนที่ดีขึ้นกว่าเดิม ส่วนต่างที่เพิ่มขึ้น คือผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการมีโครงการ

10 อาจนำไปคิดรวมเป็นต้นทุน หรือผลประโยชน์สูญเสียของโครงการ
คำนิยาม 2. ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) มูลค่าจำนวนหนึ่งที่ต้องเสียไปในการดำเนินการโครงการ ตย. ค่าเสียโอกาสการใช้ที่ดิน เมื่อนำที่ดินที่ใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช มาใช้เป็นพื้นที่อ่างเก็บน้ำ ผลตอบแทนของการปลูกพืชที่เคยได้รับ คือ “ค่าเสียโอกาส” ค่าเสียโอกาส อาจนำไปคิดรวมเป็นต้นทุน หรือผลประโยชน์สูญเสียของโครงการ

11 คำนิยาม 3. อายุโครงการ (Project life)
ประกอบด้วย ระยะเวลาก่อสร้าง + ระยะเวลาดำเนินงานโครงการ ตย. ระยะเวลาก่อสร้าง 3 ปี ระยะดำเนินงานโครงการ 50 ปี อายุโครงการ = 53 ปี หลักเกณฑ์ของแนวทางปฏิบัติในการตีราคาทรัพย์สินและการจัดทำรายงานสินทรัพย์ (คำสั่งกรมชลประทานที่ 393/2546) กำหนดให้อายุของสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานประเภทอาคารหัวงานโครงการขนาดใหญ่และขนาดกลาง และระบบส่งน้ำ ระบบระบายน้ำโครงการขนาดใหญ่และขนาดกลางเท่ากับ 50 ปี ส่วนอาคารหัวงานโครงการขนาดเล็ก และระบบส่งน้ำ ระบบระบายน้ำโครงการขนาดเล็กเท่ากับ 20 ปี ระยะเวลาดำเนินงานโครงการ : โครงการขนาดใหญ่และกลาง 50 ปี : โครงการขนาดเล็ก 20 ปี ที่มา : แนวทางปฏิบัติในการตีราคาทรัพย์สินและการจัดทำรายงานสินทรัพย์ (คำสั่งกรมชลประทานที่ 393/2546)

12 คำนิยาม 4. ตัวประกอบแปลงค่า (Conversion Factor : CF) รายการ ตัวปรับค่า
ตัวปรับค่ามาตรฐาน 0.92 ตัวปรับค่าสำหรับ - สินค้าบริโภค 0.95 - สินค้าขั้นกลาง 0.94 - สินค้าทุน 0.84 - ส่วนเหลื่อมพ่อค้าคนกลาง - ไฟฟ้า 0.90 - ปุ๋ยเคมี - สารเคมี 0.88 - เมล็ดพันธุ์/ต้นพันธุ์ - งานก่อสร้าง/โยธา - การขนส่ง 0.87 - แรงงาน ที่มา : WORLD BANK STAFF WORKING PAPERS Number 609, "Shadow Prices for Economic Appraisal of Projects An Application to Thailand" Sadiq Ahmed.,1982 4. ตัวประกอบแปลงค่า (Conversion Factor : CF)

13 คำนิยาม 5. ประสิทธิภาพการใช้ที่ดิน (Cropping Intensity : CI)
พื้นที่การเกษตร = ร้อยละ …… หลักเกณฑ์ของแนวทางปฏิบัติในการตีราคาทรัพย์สินและการจัดทำรายงานสินทรัพย์ (คำสั่งกรมชลประทานที่ 393/2546) กำหนดให้อายุของสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานประเภทอาคารหัวงานโครงการขนาดใหญ่และขนาดกลาง และระบบส่งน้ำ ระบบระบายน้ำโครงการขนาดใหญ่และขนาดกลางเท่ากับ 50 ปี ส่วนอาคารหัวงานโครงการขนาดเล็ก และระบบส่งน้ำ ระบบระบายน้ำโครงการขนาดเล็กเท่ากับ 20 ปี

14 คำนิยาม 6. แบบแผนการเพาะปลูก (Cropping pattern) และ
ปฏิทินการปลูกพืช (Cropping calendar)

15 คำนิยาม 7. อัตราคิดลด (Discount rate)
อัตราที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการเปลี่ยนมูลค่าในอนาคตให้เป็นมูลค่าปัจจุบัน ตย. เงิน 1 บาทในปัจจุบัน ฝากธนาคารได้ดอกเบี้ยร้อยละ 10 สิ้นปีที่ 1 มีมูลค่าของเงินเท่ากับ 1.10 บาท ดังนั้น สรุปได้ว่า เงิน 1.10 บาท เมื่อสิ้นปีที่ 1 มีมูลค่าปัจจุบันเท่ากับ 1 บาท

16 คำนิยาม 7. อัตราคิดลด (Discount rate) (ต่อ)
สูตร เงิน 1 บาท ที่จะได้รับในสิ้นที่ปีที่ 1 มีค่าปัจจุบันเท่ากับ (1/1.10) บาท หรือ = [ 1/(1+r)] ในปีที่ 1 = [ 1/(1+r)2] ในปีที่ 2 = [ 1/(1+r)n] ในปีที่ n โดยที่ r = อัตราคิดลดหรืออัตราดอกเบี้ย [ 1/(1+r)n] = ตัวหักลด

17 (Opportunity cost of capital)
การเลือกอัตราคิดลด ทางการเงิน ทางเศรษฐกิจ ต้นทุนของเงินทุน (Cost of capital) ค่าเสียโอกาสของทุน (Opportunity cost of capital) ใช้ราคาตลาดของเงินทุนตีค่า - เป็นอัตราผลตอบแทนของเงินทั้งหมด ปัจจัยการผลิตและผลผลิต ที่ใช้ในการดำเนินงาน ราคาตลาดของเงินทุนที่มีต่อผู้ ลงทุน = อัตราดอกเบี้ยตลาด ยุ่งยากในการประยุกต์ใช้ เพราะไม่มีใคร ทราบว่า ค่าเสียโอกาสของทุนจริงๆ เป็นเท่าใด - ผลการวิจัยของ WB พบว่า ประเทศกำลังพัฒนามีอัตราคิดลดร้อยละ

18


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google