โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
การออกแบบการเรียนรู้อย่างไรให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
โครงงาน: ฉันหลงทาง 我迷路了
แผนการจัดการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การบูรณาการไอซีทีสู่ห้องเรียน
Intel® Teach Program Essentials Course v.10.1
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
ครูเสน่ห์ อุ่นสิม จำใจเสนอ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
สวัสดี หนีห่าว กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนมัธยมศึกษาปีที 4 เวลา 2 ชั่วโมง
ครูบุญชัย กัณตวิสิฐ โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร
สรุปภาพรวมการเรียนรู้ เรื่อง หมุนเวลาพาเพลิน
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
สรุปภาพรวมของการเรียนรู้
ภาพรวมแนวคิดของโครงงาน
สรุปเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สู่ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
การวัดและประเมินผลผู้เรียน
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
จุดมุ่งหมายของโครงการ Intel Teach to The Future
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
บทบาทหน้าที่ และคุณลักษณะ ของผู้ติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา
หลักสูตร เทคนิคการเป็นวิทยากรมืออาชีพ
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
ADDIE Model.
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อเพื่อการสื่อสารทางการตลาดโดยเน้นการฝึกปฏิบัติจริงในรายวิชาการสื่อสารทางการตลาดของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2.
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557

เพื่ออัพเดทกิจกรรมที่ทำในปีที่ผ่านมา และจะทำในอนาคต เพื่อพัฒนาศักยภาพของวิทยากรให้ สามารถถ่ายทอดแนวคิดของหลักสูตร สู่ครูผู้สอนได้ เพื่อให้วิทยากรนำไปใช้จริงใน ห้องเรียน และสามารถแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ตรงกับครูท่านอื่น ๆ กำหนดการ

จัดกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ ต้องคละเพศ - เกิดวันไม่ซ้ำกัน - คนละภาค ตั้งชื่อกลุ่มที่สะท้อนเอกลักษณ์ของ สมาชิกในกลุ่มให้มากที่สุด ในเวลา 15 นาที ให้คิดหนึ่งกิจกรรมที่ สมาชิกทุกคนสามารถร่วมเล่นได้ ( เล่น หลังเบรกในเวลาไม่เกิน 20 นาที ) จัดกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ ต้องคละเพศ - เกิดวันไม่ซ้ำกัน - คนละภาค ตั้งชื่อกลุ่มที่สะท้อนเอกลักษณ์ของ สมาชิกในกลุ่มให้มากที่สุด ในเวลา 15 นาที ให้คิดหนึ่งกิจกรรมที่ สมาชิกทุกคนสามารถร่วมเล่นได้ ( เล่น หลังเบรกในเวลาไม่เกิน 20 นาที )

หลักสูตร Intel Teach- Elements มี ลักษณะเด่นที่ต่างจากหลักสูตรอื่น ๆ อย่างไร หลักสูตรใน Intel teach- Elements มี กิจกรรมหลัก 3 รูปแบบอะไรบ้าง

ดาวน์โหลด “ แผนปฏิบัติงาน ” ของตนเอง เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอเนื้อหาของตนเอง แล้ว ทุกคนจะต้องทำ “ แผนปฏิบัติงาน ” ของตนเอง ดาวน์โหลด “ แผนปฏิบัติงาน ” ของตนเอง เมื่อแต่ละกลุ่มนำเสนอเนื้อหาของตนเอง แล้ว ทุกคนจะต้องทำ “ แผนปฏิบัติงาน ” ของตนเอง

แต่ละหลักสูตรประมาณ 4-6 หน่วย แต่ละหน่วย จะประกอบด้วย 3-5 บท ทุกบทจะมีกิจกรรมเพื่อทบทวนความเข้าใจ นำแนวคิดรวบยอดไปใช้ในบริบทของห้องเรียน ภาระงาน : แผนปฏิบัติงาน

L1: ความรู้ พื้นฐาน ของ โครงง งาน L2: ประโยชน์ ของ โครงงาน L3: คุณลักษ ณะของ โครงงาน L4: บท ทบทวน

L1: การ วางแผน โครงงาน L2: เป้าหมาย ของการ เรียนรู้ L3: คำถาม กำหนด กรอบการ เรียนรู้ L4: การ ประเมิน โครงงาน L5: การ ออกแบบ กิจกรรม L6: บท ทบทวน

L1: กลวิธี การ ประเมิน โครงงา น L2: การ ประเมิน ทักษะ ศตวรรษที่ 21 L3: การ วางแผน การ ประเมิน L4: การ ให้ คะแนน โครงงา น L5: บท ทบทวน

L1: การ จัดลำดับ L2: กลวิธีการ บริหาร จัดการ L3: กิจกรรม และภาระ งานของ โครงงาน L4: บท ทบทวน

L1: การ ตั้งคำถาม ใน ห้องเรียน L2: การ เรียนรู้ ร่วมกันและ การกำกับ ตนเอง L3: ความ เข้าใจใน ข้อมูล สารสนเท ศ L4: การ สะท้อน สิ่งที่ เรียนรู้ L5: บท ทบทวน

การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน กระบวนการการเรียนรู้ผ่านการคิด และการ ทำโครงงาน เทคนิคการประเมินการพัฒนาโครงงาน และการประเมินทักษะศตวรรษที่ 21 การวางแผนเพื่อความสำเร็จของการเรียนรู้ โดยใช้โครงงาน และบทบาทของครูในการ สนับสนุนการเรียนรู้

L1: พื้นฐาน ของการ เรียนรู้ ร่วมกัน L2: การ วางแผน การ เรียนรู้ ร่วมกัน L3: ประโยช น์ที่จะ ได้รับ จากการ เรียนรู้ ร่วมกัน L4: คุณลักษณะ ของการเรียนรู้ ร่วมกัน L5: บทสรุป

L1: วัตถุประสงค์ ของการ เรียนรู้ร่วมกัน L2: การ ออกแบบ กิจกรรมการ เรียนรู้ร่วมกัน L3: การ ประเมินการ เรียนรู้ร่วมกัน L4: บทสรุป

สร้างความเข้าใจกับแนวคิดการเรียนรู้ร่วมกัน และประโยชน์ต่อผู้เรียน แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน สภาพแวดล้อมของห้องเรียนยุคดิจิทัลเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน

L1: เครื่องมือ ใหม่สำหรับ การเรียนรู้ ร่วมกัน L2: พิจารณา เครื่องมือ L3: เครื่องมือ เรียนรู้ร่วมกัน สำหรับ อนาคตของ คุณ L4: บทสรุป

L1: ผู้เรียนรู้ ร่วมกันทาง ดิจิตอลที่มี ประสิทธิภาพ L2: ผู้เรียนรู้ ร่วมกันทาง ดิจิตอลที่มี ความมั่นใจ L3: การเรียนรู้ ร่วมกันทาง ดิจิตอลที่มี จริยธรรม L4: บทสรุป

L1: การ เรียนรู้ ร่วมกันที่ ปลอดภัย L2: การ สนับสนุนผู้ เรียนรู้ ร่วมกัน L3: การ จัดการกับ เทคโนโลยี L4: สิ่งท้า ทายที่ไม่ คาดคิด L5: บทสรุป

การเลือกใช้เครื่องมือออนไลน์ที่ส่งเสริม การเรียนรู้ร่วมกัน แนวทางการพัฒนาทักษะการใช้งาน เครื่องมือออนไลน์ของนักเรียน การจัดการชั้นเรียนที่สนับสนุนการเรียนรู้ ร่วมกันในบริบทดิจิทัล

อ่านและทำความเข้าใจเนื้อหาของ หลักสูตร ดาวน์โหลดแผนปฏิบัติงาน และทำตาม บริบทของห้องเรียนและประสบการณ์ของ ตนเอง

1. การอบรมแบบ hybrid 2. การอบรมแบบออนไลน์

ทำหน้าที่เป็น facilitator/mentor ทำความความเข้าใจกับเนื้อหา และ ภาระงานที่อยู่ในแผนปฏิบัติงาน

* แบ่งกลุ่มแยกตามหลักสูตร * ทบทวนหลักสูตรร่วมกัน * ทำชุดอบรม

L1: บท นำสู่การ มีส่วน ร่วมของ นักเรียน L2: นิยาม ของการ มีส่วน ร่วมของ นักเรียน L3: ประเภท และ ระดับ ของการ มีส่วน ร่วม L4: กระบวนการ ของการมี ส่วนร่วมของ นักเรียน L5: บทสรุป

L1: บท นำสู่การ ใช้เนื้อหา สนับสนุน การมีส่วน ร่วม L2: องค์ประก อบของ การใช้ เนื้อหา L3: การ ปรับเปลี่ย นหน่วย การเรียนรู้ ของ ตนเอง L4: บทสรุป

L1: การมี ส่วนร่วม ในสถาน ประกอบก ารและ โรงเรียน L2: การมี ส่วนร่วม โดยใช้ เนื้อหา L3: การ ปรับ ชิ้นงาน L4: บทสรุป

L1: การมี ส่วนร่วม โดยใช้ ชิ้นงาน L2: การ ตรงข้าม กัน ในทาง ปฏิบัติ L3: การ จัดปรับ หน่วยการ เรียนรู้ L4: บทสรุป

L1: การ จัดการชั้น เรียนแบบ 1 เครื่อง ต่อ 1 ตน L2: ความ เป็น ประชากร ดิจิทัล และชั้น เรียนแบบ 1:1 L3: ทำ แผนการ จัดการ เรียนรู้ให้ สมบูรณ์ L4: บทสรุป

จะเปิดการขายหลักสูตรนี้อย่างไรในเวลา 3 นาที