งานกิจการนิสิต StuAffSciCU@gmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

ขั้นตอนดำเนินกิจกรรม
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
1 การประเมินคุณภาพ ภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานจัดการเรียนการสอน โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน หน่วยงาน
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2552 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
สภานิสิต: บทบาทและทิศทางในอนาคต
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวข้องกับนิสิตอย่างไร
การยืมเงินรองจ่าย งานคลังและพัสดุ คณะสหเวชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
นโยบายด้านการจัดการเรียนการสอน รายวิชาการศึกษาทั่วไป ผศ. ดร. ม. ร. ว
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
การประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิก
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
ผศ.ดร. วนาวัลย์ ดาตี้ ผู้ช่วยอธิการบดี
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
โครงการอ่านและบันทึกหนังสือเสียง ให้แก่ผู้พิการทางสายตา
ลดอัตราการออกกลางคัน ของนักศึกษาปริญญาตรี (Drop out)
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ คุณภาพชมรมนักศึกษา / ชมรมบัณฑิต มสธ.
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
CHE QA ONLINE ประชุมชี้แจงการปรับปรุงและ การใช้ระบบฐานข้อมูลด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 28 ก. ค
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
โครงการขับเคลื่อนกรอบ คุณวุฒิแห่งชาติ สู่การจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาเอกชนประเภท อาชีวศึกษา.
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
สิบคำถามยอดฮิต สำนักงานงบประมาณ.

1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 หน่วยงานสนับสนุน
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การเบิกจ่ายค่าครุภัณฑ์โครงการวิจัย
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
โครงการรณรงค์ให้นักศึกษา แต่งกายถูกระเบียบ
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
การประกันคุณภาพที่นักศึกษาควรรู้
งานวางแผนและงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเครือข่าย/เสริมศักยภาพเครือข่าย จัดให้มีเวทีเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การรณรงค์ สร้างกระแสลดละเลิกบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ประจำปีการศึกษา 2556 (1 มิถุนายน 56 – 31 กรกฏาคม 57) การประชุมทำความเข้าใจ สำหรับรับการตรวจประเมิน คุณภาพการศึกษาหน่วยงาน สายสนับสนุนผ่านระบบ ESAR.
คำนึง อุยตระกูล กศน.อำเภอบ้านไผ่
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ฝ่ายประกัน คุณภาพ (Quality Assurance Department).
ประชุมคณาจารย์คณะครุศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน 2557
Company LOGO ประชุม นักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู วันที่ 3 ตุลาคม 2553.
แนวปฏิบัติที่ดีของ การประกันคุณภาพ การศึกษา. ที่องค์ประกอบ ผลการประเมิน ปี 52 ปี 53 ปี 54 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผน ดำเนินการ
ระดับกระทรวง / กรม เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง (PSAM) เป้าหมายการให้บริการระดับกรม (PSA) ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดผลผลิตตามเอกสาร สงป. (SDA) ตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ.
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการจัดตั้งสายวิชาบริหารธุรกิจและเศรษฐศาสตร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานกิจการนิสิต StuAffSciCU@gmail.com

หัวข้อในการชี้แจ้ง ประกันคุณภาพ การเสนอโครงการในการของบประมาณ

ประกันคุณภาพ

ประกันคุณภาพ ประกันคุณภาพที่งานกิจการนิสิตดูแล และต้องตอบตามตัวชี้วัดต่างๆ ดังนี้ สกอ. (ตามปีการศึกษา: มิถุนายน - พฤษภาคม) สมศ. (ตามปีการศึกษา: มิถุนายน - พฤษภาคม) กพร. (SDA) (ตามปีงบประมาณ: ตุลาคม – กันยายน) KPI (ยุทธศาสตร์) (ตามปีงบประมาณ: ตุลาคม – กันยายน)

สกอ.แบ่งออกเป็น 2 ส่วน รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ตามตัวบ่งชี้ที่ได้รับ (ภาควิชานำข้อมูลจากกิจการนิสิตไปใช้ตอบประกันคุณภาพของตนเอง) 2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา 3.1 ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร 3.2 ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา 6.1 ระบบและกลไกการทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ข้อมูลพื้นฐาน (CDS) (ภาควิชานำส่งข้อมูลให้กิจการนิสิตเป็นช่วงไตรมาส) ข้อมูลอาจารย์ บุคลลากร และนิสิตที่ได้รับรางวัล ข้อมูลกิจกรรมประจำปีการศึกษา ข้อมูลคุณภาพบัณฑิต: การประกอบอาชีพ, ความพึงพอใจในสถานประกอบการ, ฯลฯ (ข้อมูลจากทางสำนักงานแผนและคลัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

สมศ. ข้อมูลใช้ร่วมกับการประกันคุณภาพของ สกอ. ในรูปแบบของ SAR

กพร. (SDA) ข้อมูลพื้นฐาน (ภาควิชานำส่งข้อมูลให้กิจการนิสิตเป็นช่วงไตรมาส) ข้อมูลแผนประจำปี (ส่งครั้งเดียว ประมาณช่วงเดือนสิงหาคม) ข้อมูลผลประจำปี (ส่งเป็นไตรมาส)

KPI (ยุทธศาสตร์) ข้อมูลพื้นฐาน (ภาควิชานำส่งข้อมูลให้กิจการนิสิตเป็นช่วงไตรมาส) ข้อมูลแผนประจำปี (ส่งครั้งเดียว ประมาณช่วงเดือนสิงหาคม) ข้อมูลผลประจำปี (ส่งเป็นไตรมาส)

ความร่วมมือจากภาควิชา กิจการนิสิตขอความร่วมมือจากภาควิชาโดยให้ส่งข้อมูล ดังนี้ ข้อมูลแผนกิจกรรม (ส่งครั้งเดียวประมาณเดือนสิงหาคม) ตามเอกสารประกอบ 1 ข้อมูลที่ภาควิชานำส่งข้อมูลให้กิจการนิสิตทุกไตรมาส สรุปกิจกรรม ลงในเอกสารประกอบ 1.1 พร้อมแนบสำเนาโครงการที่ได้รับการอนุมัติ สรุปผลการประเมินผลการดำเนินกิจกรรม (เอกสารประกอบ 1.2) ต้องสอดคล้องกับโครงการที่ได้รับการอนุมัติ และรูปภาพการจัดกิจกรรม แบบกรอกข้อมูลระบบทะเบียนกิจกรรม (AT) (เอกสารประกอบ 1.3) ต้องสอดคล้องกับจำนวนที่สรุปมาในเอกสารประกอบ 1.2 (มีข้อมูลรายชื่ออาจารย์ บุคลากร และนิสิตที่เข้าร่วมกิจกรรม) หากไม่สามารถพิมพ์ข้อมูลได้ขอให้แนบใบเซ็นชื่อการเข้าร่วมกิจกรรมมาด้วย สรุปข้อมูลการได้รับรางวัลของอาจารย์ บุคลากร และนิสิต ลงในเอกสารประกอบ 2.1, 2.2 และ 2.3 พร้อมแนบเอกสารหลักฐานการได้รับรางวัล เช่น เกียรติบัตร, ประกาศการได้รับรางวัล แจกและรวบรวมแบบสอบถามจากทางงานกิจการนิสิต

ประโยชน์ที่ภาควิชาจะได้รับ เมื่อกิจการนิสิตทำข้อมูลเสร็จสิ้นแล้ว จะส่งข้อมูลกลับไปยังภาควิชา เพื่อให้ภาควิชาสามารถนำไปใช้ในการตอบประกันคุณภาพของแต่ละภาควิชาต่อไป แบบสอบถามที่ได้กลับมาจากทางภาควิชา กิจการนิสิตจะทำการสรุปและส่งข้อมูลให้แต่ละภาควิชา เพื่อให้แต่ละภาควิชาสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้ กิจการนิสิตจะเก็บข้อมูลไว้เพื่อเป็นฐานข้อมูลสำรองให้แก่ภาควิชา

การเสนอโครงงานเพื่อของบประมาณ

งบประมาณสนับสนุนกิจกรรม งบประมาณสนัสนุนกิจกรรมแยกออกเป็น 5 ส่วน ดังนี้ งบประมาณสนับสนุนจากภาควิชา งบประมาณสนับสนุนจากงานกิจการนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพื่อกิจการนิสิตสำหรับกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสร้างจิตอาสา งบประมาณสนับสนุนจากภาคเอกชน งบประมาณสนับสนุนจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม

รูปแบบโครงการ ประเภทโครงการที่สามารถขอใช้งบประมาณสนับสนุนจากงานกิจการนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (10,000 บาท/โครงการ) เป็นกิจกรรม/โครงการ ที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในรายวิชา เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนานิสิตปริญญาตรี โดยวัตถุประสงค์หลักของโครงการต้องเป็นการพัฒนานิสิตตามแผนยุทธศาสตร์ของคณะ ซึ่งมีลักษณะดังนี้ กิจกรรมส่งเสริมทักษะด้านต่างๆ เช่น ทักษะด้านภาษา ทักษะทางวิชาชีพ ทักษะทางด้านกีฬา กิจกรรมส่งเสริมด้านคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมสร้างจิตสำนึกสาธารณะ สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในเอกสารประกอบ 1

รูปแบบโครงการ(ต่อ) ประเภทโครงการที่สามารถขอใช้งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพื่อกิจการนิสิตสำหรับกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสร้างจิตอาสา (จากสำนักบริหารงานกิจการนิสิต จุฬาฯ) เป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการประเมินรายวิชาที่มี การลงทะเบียนเรียน เป็นกิจกรรมที่มีลักษณะอาสาสมัครโดยไม่หวังค่าตอบแทน เป็นกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชนและประเทศชาติ เป็นกิจกรรมที่ไม่ขัดต่อศีลธรรมและกฎหมาย เป็นกิจกรรมที่ค้างคืนหรือไม่มีการค้างคืน สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ในเอกสารประกอบ 1

การเสนอโครงการเพื่อของบประมาณ ให้ทำโครงการพร้อมบันทึกข้อความ ลงในเอกสารประกอบ 2 ส่งบันทึกข้อความ พร้อมโครงการที่หัวหน้าภาควิชา ลงนามเรียบร้อยแล้วมายัง กิจการนิสิต กิจการนิสิตจะแจ้งผลการอนุมัติงบประมาณกลับไปยังภาควิชา งบประมาณสนับสนุนจากงานกิจการนิสิต คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากคณบดีพิจารณาอนุมัติ งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพื่อกิจการนิสิตสำหรับกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์เพื่อสร้างจิตอาสา หลังจากทางมหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติแล้ว โดยให้แต่ละภาควิชาสำรองจ่ายงบประมาณทั้ง 2 ส่วนนี้ไปก่อน แต่โครงการจะต้องได้รับอนุมัติแล้ว

การสรุปโครงการที่ของบประมาณ หลังจากเสร็จสิ้นโครงการแล้ว ให้ภาควิชาดำเนินการส่งบันทึกข้อความ ที่จัดทำลงในเอกสารประกอบ 3 พร้อมทั้ง ใบเสร็จรับเงินทั้งหมด (ไม่ต้องปั๊มจ่ายแล้ว หรือกระทำการใดๆ บนใบเสร็จรับเงิน แต่ต้องตรวจดูความถูกต้องของใบเสร็จรับเงินให้ถูกต้องตามระเบียบของคณะ โดยออกใบเสร็จในนาม “คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”) สรุปผลการประเมินผลการดำเนินกิจกรรม เอกสารประกอบ 4.1 (รูปแบบเหมือนเอกสารประกอบ 1.2 ของการตอบข้อมูลประกันคุณภาพ สามารถใช้ร่วมกันได้) แบบกรอกข้อมูลระบบทะเบียนกิจกรรม (AT) (เอกสารประกอบ 4.2 เพื่อลงข้อมูลระบบทะเบียนกิจกรรม (รูปแบบเหมือนเอกสารประกอบ 1.3 ของการตอบข้อมูลประกันคุณภาพ) ใบเซ็นชื่อเข้าร่วมกิจกรรม (เพื่อเป็นเอกสารประกอบการเบิก) รูปถ่ายของกิจกรรม (เพื่อเป็นเอกสารประกอบประกันคุณภาพและรายงานประจำปี)

StuAffSciCU@gmail.com หมายเหตุ http://goo.gl/ycKdO ข้อมูลที่จัดทำลงในไฟล์เอกสารประกอบทั้งหมด ในส่วนของประกันคุณภาพ และในส่วนของโครงการ ให้จัดทำเป็นรูปแบบเอกสารส่งมายังงานกิจการนิสิต และส่งเป็นรูปแบบไฟล์เอกสารมายัง e-mail กลางของกิจการนิสิต สามารถ Download เอกสารประกอบทั้งหมดได้ที่ StuAffSciCU@gmail.com http://goo.gl/ycKdO