สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การพักชำระหนี้/ลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย พ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กุมภาพันธ์ 2546
วัตถุประสงค์ รวบรวมความคิดเห็นของประชาชนทั้งผู้ที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพักชำระหนี้และลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย เกี่ยวกับ ภาระหนี้สิน ความเห็นต่อแนวทางต่าง ๆ ของโครงการ การมีเงินออม เงินลงทุน การชำระหนี้คืน การฟื้นฟูอาชีพ และประโยชน์ที่ได้รับของผู้เข้าร่วมโครงการฯ เพื่อให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ในการติดตาม ประเมินผล และปรับปรุงโครงการฯ
ระเบียบวิธีการสำรวจ คุ้มรวม ประชาชนที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในเขต เทศบาลตำบล และนอกเขตเทศบาล (ยกเว้นในเขตเทศบาลนคร เทศบาลเมือง และกรุงเทพมหานคร) แผนการสุ่มตัวอย่าง Stratified three-stage sampling โดยมีจังหวัดเป็นสตราตัม ซึ่งมีทั้งสิ้น 75 สตราตัม(ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) มีจำนวนประชากรที่ตกเป็นตัวอย่างทั้งสิ้น 54,540 ราย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสัมภาษณ์ โดยเจ้าหน้าที่ของสำนักงาน สถิติแห่งชาติ ไปทำการสัมภาษณ์สมาชิก ในครัวเรือนตัวอย่างที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป ครัวเรือนละ 1 คน ปฏิบัติการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 2 - 18 มกราคม 2546
ความหมายพักชำระหนี้/ลดภาระหนี้ การพักชำระหนี้ เกษตรกรไม่ต้องชำระหนี้ทั้งเงินต้นและดอกเบี้ย เป็นเวลา 3 ปี การลดภาระหนี้ เกษตรกรต้องชำระหนี้ทั้งเงินต้น และดอกเบี้ย ต่อไปตามปกติ แต่จะได้รับการชดเชยดอกเบี้ย จากรัฐบาลในอัตราร้อยละ 3 ต่อปี เป็นเวลา 3 ปี
รายได้/หนี้สินของครัวเรือน ปี 2545 จำนวน (บาท) 140,000 129,076 113,308 120,000 90,250 100,000 83,119 82,973 77,408 80,000 75,325 74,146 56,332 60,000 53,251 40,000 20,000 รวม กลาง เหนือ ตะวันออก เฉียงเหนือ ใต้ รายได้ หนี้สิน
การมีหนี้สินของครัวเรือน การมีหนี้สิน และแหล่งที่กู้ แหล่งที่กู้ การมีหนี้สินของครัวเรือน 2.7 % 8.8 % 26.6 % 73.4 % 61.9 % มีหนี้สิน หนี้ในระบบ ไม่มีหนี้สิน หนี้นอกระบบ หนี้จากแหล่งอื่นที่ไม่ต้องจ่ายดอกเบี้ย
ความคิดเห็นของประชาชน ที่เข้าร่วมโครงการ พักชำระหนี้ หรือ ลดภาระหนี้ แก่เกษตรกรรายย่อย
การมีเงินออมของผู้ที่เข้าร่วมโครงการ ฯ ร้อยละ 100 74.3 80 70.7 67.1 64.8 60 56.9 43.1 40 35.2 32.9 29.3 25.7 20 รวม เหนือ ใต้ กลาง ต.อ.น มีเงินออม ไม่มีเงินออม
การนำเงินไปใช้ประโยชน์ การนำเงินที่ไม่ต้องผ่อนชำระคืน ธ.ก.ส ในช่วงพักชำระหนี้/ลดภาระหนี้ไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ การนำเงินไปใช้ประโยชน์ เป็นค่าใช้จ่ายอุปโภคบริโภคในครัวเรือน 99.7 ใช้หนี้แหล่งเงินกู้อื่น 71.3 ใช้ซื้อสิ่งอำนวยความสะดวกภายในครัวเรือน 31.1 ใช้ลงทุนในการประกอบอาชีพอื่น 8.6 หมายเหตุ : ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
ความสามารถในการชำระหนี้คืน ธ.ก.ส. 100 87.6 89.5 87.9 86.9 89.0 80 60 40 20 11.4 10.2 10.3 10.0 10.9 0.5 1.8 1.7 0.8 1.5 รวม กลาง เหนือ ต.อ.น ใต้ สามารถชำระหนี้คืนได้ ไม่สามารถชำระหนี้คืนได้ ไม่แน่ใจ
เหตุผลที่ไม่สามารถชำระหนี้คืน ธ.ก.ส. รวม ความสามารถในการชำระหนี้คืน รวม 100.0 87.6 มีความสามารถในการชำระหนี้คืน ธ.ก.ส. ไม่มีความสามารถในการชำระหนี้คืน ธ.ก.ส. 1.5 ไม่แน่ใจ 10.9 เหตุผลที่ไม่สามารถชำระหนี้คืนได้/ไม่แน่ใจ 12.4 ผลผลิตเสียหาย 12.1 มีหนี้สินแหล่งอื่นต้องชำระ 9.0 มีสมาชิกในครัวเรือนติดการพนัน/เหล้า/ยาเสพติด 4.2 ราคาผลผลิตตกต่ำ 0.9 ไม่ประสบผลสำเร็จในการฟื้นฟูอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ 0.2 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
การขอรับการฟื้นฟูอาชีพ ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 80 63.3 62.6 59.1 60 57.3 56.9 43.1 42.7 40.9 40 36.7 37.4 20 รวม กลาง เหนือ ต.อ.น ใต้ ขอรับการฟื้นฟูอาชีพ ไม่ขอรับการฟื้นฟูอาชีพ
เรื่องที่ขอรับการฟื้นฟูอาชีพ ตะวันออก การขอรับการฟื้นฟูอาชีพ รวม กลาง เหนือ เฉียง เหนือ ใต้ รวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ขอรับการฟื้นฟูอาชีพ 40.9 36.7 37.4 43.1 42.7 ทำอาชีพเสริม 22.5 15.1 20.0 26.0 18.7 ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของ อาชีพเดิม 9.0 13.4 7.5 7.6 14.9 ทำการเกษตรผสมผสานตามคำ แนะนำของเจ้าหน้าที่ 8.0 7.1 7.7 8.1 8.2 เปลี่ยนอาชีพใหม่ 0.7 0.6 1.1 0.5 0.7 อื่น ๆ 0.7 0.5 1.1 0.9 0.2 ไม่ขอรับการฟื้นฟู 59.1 63.3 62.6 56.9 57.3
ผลการเข้าร่วมโครงการฯ เมื่อเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการฯ การมีเงินออม ภาระหนี้สิน 2.8% 3.2% 55.2% ดีขึ้น 53.3% เท่าเดิม แย่ลง 42.0% 43.5% การฟื้นฟูอาชีพ/ปรับปรุงการผลิต 3.9% 42.6% 53.5% ดีขึ้น
ผลการเข้าร่วมโครงการฯ เมื่อเทียบกับก่อนเข้าร่วมโครงการฯ ความเป็นอยู่ทั่วไป รายได้ของครัวเรือน 0.8% 3.8% 51.3% 54.2% 45.0% 44.9% ดีขึ้น เท่าเดิม แย่ลง ดีขึ้น
ความคิดเห็นของประชาชน ที่เข้าร่วม และไม่เข้าร่วมโครงการ พักชำระหนี้หรือลดภาระหนี้ แก่เกษตรกรรายย่อย
ความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ของโครงการฯ ร้อยละ 98.6 100 93.5 90.4 80 มีประโยชน์ 60 ไม่มีประโยชน์ 40 20 9.6 6.5 1.4 รวม เข้าร่วม โครงการฯ ไม่เข้าร่วม โครงการฯ
ประโยชน์ของการพักชำระหนี้ ร้อยละ 1.1 100 8.1 10.3 1.9 6.0 7.2 80 31.3 ไม่มีความคิดเห็น 34.8 น้อย/ไม่มีประโยชน์ 35.9 60 ปานกลาง 40 มาก 51.1 65.7 46.6 20 รวม เข้าร่วม โครงการฯ ไม่เข้าร่วม โครงการฯ
ประโยชน์ของการลดภาระหนี้ ร้อยละ 2.0 100 8.9 11.0 2.3 5.7 6.7 ไม่มีความคิดเห็น 80 33.7 36.2 37.0 น้อย/ไม่มีประโยชน์ 60 ปานกลาง 40 มาก 49.2 62.0 45.3 20 เข้าร่วม โครงการฯ ไม่เข้าร่วม โครงการฯ รวม
ประโยชน์ของการฟื้นฟูอาชีพ ร้อยละ 5.1 100 11.8 13.8 7.7 8.7 8.9 ไม่มีความคิดเห็น 80 น้อย/ไม่มีประโยชน์ 33.8 33.6 33.9 60 ปานกลาง มาก 40 45.7 53.6 43.4 20 เข้าร่วม โครงการฯ ไม่เข้าร่วม โครงการฯ รวม
ผลสำเร็จของโครงการ พักชำระหนี้/ลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อย ร้อยละ 4.0 100 14.1 4.4 17.2 7.1 80 7.9 ไม่มีความคิดเห็น น้อย/ไม่สำเร็จ 60 43.2 40.5 44.1 ปานกลาง 40 มาก 35.6 51.1 30.8 20 เข้าร่วม โครงการฯ ไม่เข้าร่วม โครงการฯ รวม
ความเห็นเกี่ยวกับ การจัดโครงการพักชำระหนี้หรือลดภาระหนี้แก่เกษตรกรรายย่อยที่เป็นหนี้มากกว่า 100,000 บาท ร้อยละ 92.6 100 90.7 87.2 80 60 ควรจัด ไม่ควรจัด 40 20 12.8 9.3 7.4 รวม เข้าร่วม โครงการฯ ไม่เข้าร่วม โครงการฯ
ข้อเสนอแนะ ร้อยละ ข้อเสนอแนะ รวม 100.0 27.1 แสดงความคิดเห็น 13.1 ขยายระยะเวลาคืนเงินกู้ ลดดอกเบี้ย 11.9 ควรให้มีโครงการช่วยเหลือเกษตรกรตลอดไป 2.3 ควรมีนักวิชาการเข้ามาแนะนำด้านการเกษตร 1.1 ควรเปิดโอกาสให้ทุกอาชีพเข้าร่วมโครงการอย่างเท่าเทียมกัน 1.0 ควรนำเงินกู้มาใช้ประกอบอาชีพให้เกิดประโยชน์มากที่สุด รัฐบาลควรมีมาตรการในการป้องกันการทุจริต 0.9 หรือ ควรมีมาตรการในการกระตุ้นเศรษฐกิจให้มากกว่านี้ ควรมีการติดตามประเมินโครงการอย่างต่อเนื่อง 0.8 ไม่แสดงความคิดเห็น 72.9 หมายเหตุ ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ