แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
Service Plan สาขา NCD.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เป้าหมาย ตัวชี้วัด ปี 2557.
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
คณะทำงานกลุ่มที่ 1 ลำปาง เชียงราย อุตรดิตย์ ลำพูน พะเยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
พี่เลี้ยงการพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลสัตหีบ กม.10.
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม 28 กันยายน 2557

ขอบเขต ปี 57 ปี58 1. การพัฒนาระบบ DHS : District Health System /PCA : Primary Care Award / HA : Hospital Accreditation/อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง Service Delivery การจัดการปัญหาและภัยสุขภาพในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และ เกิดระบบสุขภาพระดับอำเภอ ทุกอำเภอ มีการพัฒนาตามแนวทาง DHS พัฒนาทีมเยี่ยมสำรวจ - ระดับจังหวัด 1 ทีม/จังหวัด จำนวน6-8คน/ทีม - ระดับอำเภอ จังหวัด พัฒนาให้ครบทุกอำเภอ มีทีมเยี่ยม ประมาณ 50 % ของอำเภอทั้งหมดในเขต 1.เน้นปรับ Mind Set บุคลากรสาธารณสุข เป็น Community Base 2. ทีมเยี่ยมสำรวจ ลงเยี่ยม โดยเน้นการเยี่ยมเพื่อพัฒนาให้เป็นงานประจำ และเห็นผลจริง โดยยึดปัญหาพื้นที่เป็นหลัก

ยังไม่ได้ เชื่อมโยงงานบริการปฐมภูมิกับสาขาอื่น ขอบเขต ปี 57 ปี58 2. การจัดบริการปฐมภูมิที่มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ และService Plan สาขาอื่นๆ (หลัก 1A4C) Service Delivery มีการจัดบริการครอบคลุม ประชากรกลุ่มเป้าหมาย สอดคล้องกับปัญหาของพื้นที่ และ Essencial Care มีการเชื่อมโยงระหว่างระบบบริการสาขาอื่นๆ และ มีระบบส่งต่อระหว่างสถานบริการทุกระดับ ส่งเสริมการพึ่งตนเองด้านสุขภาพของประชาชน และให้อปท.มีส่วนร่วมในการจัดบริการปฐมภูมิ ยังไม่ได้ เชื่อมโยงงานบริการปฐมภูมิกับสาขาอื่น อปท.บางแห่งมีส่วนร่วมในการจัดบริ การ การเชื่อมโยงบริการปฐมภูมิ กับ งานปฐมภูมิของสาขาอื่นๆ เช่น NCD หัวใจ (โดยต้องขึ้นกับปัญหาของพื้นที่ และEssential Care) 2. อปท.มีส่วนร่วมในการจัดบริการปฐมภูมิ

ขอบเขต ปี 57 ปี58 3. การพัฒนางานเวชศาสตร์ครอบครัว Service Delivery จัดบริการเวชศาสตร์ครอบครัวให้เป็นรูปธรรมโดยทีมสหวิชาชีพ สร้างแหล่งเรียนรู้ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว และ พัฒนาศูนย์เรียนรู้ด้านเวชศาสตร์ครอบครัว ในรพศ. ทุกจังหวัดมีการพัฒนาเวชศาสตร์ ให้ทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยมีรพศ.ลำปาง รพ.แพร่เป็นศูนย์เรียนรู้ ยังไม่มีการติดตามการดำเนินงานของทีมสหสาขาวิชาชีพเชิงคุณภาพ และ การนำไปปฏิบัติจริงในพื้นที่ 1.พัฒนาระบบข้อมูลที่ใช้ในงานเวชศาสตร์ครอบครัว เช่น แฟ้มครอบครัว 2. การพัฒนาเวชศาสตร์ครอบครัว ของทีมสหสาขาชาชีพ และ ศูนย์เรียนรู้ในรพศ. 3. การจัดสรรโควต้าแพทย์ประจำบ้านเวชศาสตร์ครอบครัว ในโรงพยาบาล ระดับ A S M

ที่ต้องการรับการสนับสนุนจากเขต แผนพัฒนาปี 2558 ที่ต้องการรับการสนับสนุนจากเขต 1. งบประมาณในการพัฒนา DHS PCA HA ให้ระดับอำเภอ - เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - การจัดสรรการดำเนินงานระดับเขต จังหวัด 2. งบประมาณในการพัฒนาทีมสหสาขา วิชาชีพ และ ศูนย์เรียนรู้ - การกำกับติดตาม งานระดับเขตจังหวัด - จัดสรรให้ศูนย์เรียนรู้ 3. การจัดสรรโควต้าแพทย์ประจำบ้าน ในโรงพยาบาล ระดับ A S M