งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี – 2554 (ระยะ 2 ปี) กำหนดเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชนสามารถ เฝ้าระวัง และติดตาม สภาวะการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ประชาชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติตามนั้น ประชาชนมี มาตรการทางสังคม เพื่อควบคุม หรือส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคแอลกอฮอล์ ที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมตามแต่กรณี ประชาชนมีหน้าที่ควบคุมดูแล สภาวะแวดล้อมในการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่ทั้งทางกายภาพและที่เป็นนามธรรมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดี ระดับภาคี (มุมมองเชิงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) อปท. ร่วมดำเนินงาน สร้างมาตรการทางสังคมและสนับสนุน ทรัพยากรอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง อสม./ผู้นำชุมชน/ประชาสังคม/ผู้ประกอบการทั้งในและนอกพื้นที่ สามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการพัฒนาชุมชนสร้างเสริมสุขภาพและสภาวะแวดล้อมในการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเป็นรูปธรรม องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐทั้งในกระทรวง/นอกกระทรวง ทุกระดับ(กทม./สสจ/เขต/กรม/คณะกรรมการตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์กำหนด)องค์กรภาคีเครือข่ายต่างประเทศ มีส่วนร่วมสนับสนุนการเฝ้าระวังและการบังคับใช้กฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์/กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรมและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ระดับกระบวนการ (มุมมองเชิงกระบวนการภายใน) มีการบริหารจัดการ สนับสนุนและพัฒนาการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการวางแผนงาน โครงการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ มีระบบการสื่อสาร หลายรูปแบบที่เข้าถึงทุกครัวเรือน มีระบบการจัดการนวัตกรรมกระบวนการพัฒนาสุขภาพเพื่อป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ระดับพื้นฐานองค์กร (มุมมองเชิงการเรียนรู้และพัฒนา) องค์กรสุขภาพมีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ข้อมูลสุขภาพและสังคมมีคุณภาพและทันสมัย องค์กรสุขภาพมีกระบวนทัศน์และสมรรถนะที่เหมาะสม ต่อการทำงาน

2 ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ)
ระดับประชาชน คำนิยาม - ประชาชนสามารถ เฝ้าระวัง และติดตาม สภาวะ การสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง - ประชาชนมีความรู้ และทักษะในการ เฝ้าระวัง และติดตาม สถานการณ์สร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง - ประชาชนมีโครงการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติตามนั้น -ประชาชนมีความรู้และทักษะในการจัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเหมาะสมกับบริบทและร่วมมือกันปฏิบัติตามนั้น -ประชาชนมี มาตรการทางสังคม เพื่อควบคุม หรือส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมตามแต่กรณี - ประชาชนจัดทำมาตรการทางสังคม เพื่อใช้ควบคุมดูแลหรือส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคและการละเมิดกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง -ประชาชนมีหน้าที่ควบคุมดูแล สภาวะแวดล้อมทั้งทางกายภาพและที่เป็นนามธรรมให้เอื้ออำนวยต่อการมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดี -ประชาชนสามารถ ควบคุมดูแลสภาวะแวดล้อมทั้งทางกายภาพ และที่เป็นนามธรรม ให้เอื้ออำนวยต่อการมีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่ดีและมีความรู้ในเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2

3 ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ)
ระดับภาคี คำนิยาม - อปท. ร่วมดำเนินงาน สร้างมาตรการทางสังคม และสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง - อปท.มีการร่วมดำเนินงาน ส่งเสริมการสร้างมาตรการทางสังคมและสนับสนุนทรัพยากร (งาน, เงินงบประมาณ, บุคลากร, การบริหารจัดการงานกองทุนสุขภาพและการติดตามประเมินผล) อย่างพอเพียงและต่อเนื่อง อสม./ผู้นำชุมชน/ประชาสังคม/ผู้ประกอบการทั้งในและนอกพื้นที่ สามารถตัดสินใจและแสดงบทบาทการพัฒนาชุมชนสร้างเสริมสุขภาพและสภาวะแวดล้อมในการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์อย่างเป็นรูปธรรม - อสม./ผู้นำชุมชน (เช่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน) /ประชาสังคม (องค์กรภาคเอกชนและภาคสังคม เช่น สสส. สปสช. สื่อมวลชน พระ ครู ปราชญ์ชาวบ้าน เครือข่ายองค์กรงดเหล้า ฯลฯ) ผู้ประกอบการ เครือข่ายผู้ประกอบการ ทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ให้สามารถตัดสินใจ และแสดงบทบาท สนับสนุนและสร้างสภาวะแวดล้อมให้ชุมชนมีการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ อย่างเป็นรูปธรรม - องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐทั้งในกระทรวง/นอกกระทรวง ทุกระดับ(กทม./สสจ/เขต/กรม/คณะกรรมการตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์กำหนด)องค์กรภาคีเครือข่ายต่างประเทศ สนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง - องค์กรภาคีเครือข่ายภาครัฐทั้งในกระทรวง/นอกกระทรวง ทุกระดับ/สสจ/กทม./เขต/กรม/คณะกรรมการตามกฎหมายควบคุมแอลกอฮอล์กำหนด)องค์กรภาคีเครือข่ายต่างประเทศ สนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง 3

4 ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ)
ระดับกระบวนการ คำนิยาม - มีการบริหารจัดการ สนับสนุนและพัฒนาการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการวางแผนงาน โครงการป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ - มีการบริหารจัดการ สนับสนุน และพัฒนาแบบบูรณาการ (งาน, เงิน, คน, การบริหารจัดการ) ภาคีเครือข่ายทุกระดับ (ประเทศ /เขต /จังหวัด และท้องถิ่น) มีความรู้และทักษะการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ในการวางแผนงาน /โครงการพร้อมระบบกำกับติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ -มีระบบสื่อสาร การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หลายรูปแบบที่เข้าถึงทุกครัวเรือน -มีการจัดทำหรือสนับสนุนระบบการสื่อสารเพื่อสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หลายช่องทาง (สื่อสิ่งพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ สื่อบุคคล และสื่อท้องถิ่น ฯลฯ) ที่เข้าถึงทุกครัวเรือน - มีระบบการจัดการนวัตกรรมกระบวนการพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ -มีระบบการจัดการองค์ความรู้ และนวัตกรรมกระบวนพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 4

5 ตารางคำนิยาม ( อธิบายข้อความ)
ระดับพื้นฐานองค์กร คำนิยาม -องค์กรสุขภาพมีคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย องค์กรสุขภาพทุกระดับ/เครือข่ายสุขภาพทุกระดับ(หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ สถานีอนามัย/สถานบริการสาธารณสุข/ศูนย์สุขภาพชุมชน/ศูนย์แพทย์ชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการระดับทุติยภูมิ หน่วยบริการตติยภูมิ เฉพาะที่อยู่ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ) สำนักงานวิชาการส่วนกลางสังกัดกรมควบคุมโรค มีความรู้และคุณลักษณะที่เอื้ออำนวยต่อการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ข้อมูลสุขภาพและสังคมมีคุณภาพและทันสมัย องค์กรมีข้อมูลภัยสุขภาพ (ข้อมูลสภาวะสุขภาพ ข้อมูลการตายที่เกิดจากโทษและผลกระทบของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์) ข้อมูลด้านภัยสังคม (ภัยด้านสังคมที่มีการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสนับสนุน โดยการเชื่อมโยงกับข้อมูลกระทรวงมหาดไทย ) ที่มีคุณภาพ ครอบคลุม เชื่อมโยง และสามารถเข้าถึงได้ง่าย              องค์กรสุขภาพมีกระบวนทัศน์และสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการทำงาน บุคลากรในองค์กรสุขภาพ และเครือข่ายองค์กรสุขภาพ มีความรู้และทักษะ และมีสมรรถนะที่เหมาะสมเอื้อต่อการทำงาน 5

6 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ภายใน พ.ศ (สร้างเมื่อ 21 ตุลาคม 2552) ประชาชนควบคุมดูแลสถาวะ แวดล้อมด้านสังคม/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านบริโภคฯ ชุมชน มีมาตรการ ทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชน โดยชุมชน ประชาชน ประชาชน มีระบบเฝ้าระวัง และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมดำเนินงานสร้างมาตรการทางสังคม ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กร ประชาสังคม ภาคีผู้ประกอบการ มีบทบาท/แสดงบทบาทพัฒนาสุขภาพ หน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายสุขภาพ คณะกรรมการตามกฎหมายฯสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี ระบบสื่อสารสารสนเทศ มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวย ต่อการทำงาน ระบบข้อมูลสุขภาพและภัยสังคมมีคุณภาพ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะ ที่เหมาะสม

7 จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชนควบคุมดูแลสถาวะ แวดล้อมด้านสังคม/ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านบริโภคฯ จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้ อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ประชาชน มีมาตรการทางสังคม ประชาชน ประชานมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน มีระบบเฝ้าระวัง และป้องกันควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีประสิทธิภาพ อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ อปท.ร่วมดำเนินงานสร้างมาตรการทางสังคม ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กร ประชาสังคม ภาคีผู้ประกอบการ มีบทบาท/แสดงบทบาทพัฒนาสุขภาพ ทำบันทึกความร่วมมือ ภาคี หน่วยงานภาครัฐ ภาคีเครือข่ายสุขภาพ คณะกรรมการตามกฎหมายฯสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลสุขภาพและภัยสังคมมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) พื้นฐาน บุคลากร แกนนำ มีสมรรถนะที่เหมาะสม


ดาวน์โหลด ppt ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google