การบริหารงานมหาวิทยาลัย โดย ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดกิจกรรมโครงการฯ
Advertisements

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
ประชุมบุคลากรประจำปีการศึกษา 2551
การกำหนดโครงการ ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย เพื่อบรรจุในแผนปฏิบัติราชการปี 2554 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม 2553 ห้องประชุมวารินชำราบ.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
ระบบประกันคุณภาพคณะวิทยาศาสตร์
การบัญชีสำหรับกิจการ
Graduate School Khon Kaen University
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
การเสวนาแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่อง การจัดทำแผนกลยุทธ์ทางการเงิน
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รายละเอียดข้อมูลทั่วไป
สายวิชาการ 58 คน ข้อมูล ณ 30 กันยายน 2553 จำนวนคน.
กิจการนิสิต (Student Affairs)
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
การวิเคราะห์และวางแผนอัตรากำลัง
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ผลการประเมินคุณภาพภายใน ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์
“ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และการประกันคุณภาพการศึกษา” คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 31 พฤษภาคม 2552.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
คณาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ตามแผน มหาวิทยาลัยพายัพฉบับที่ 4 ปีการศึกษา
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ชื่อตัวบ่งชี้ 1. 5 : จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์ เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติ คุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการ หรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับ.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ไทย ทิพย์สุวรรณกุล
รศ.ดร.เกรียงไกร กิจเจริญ 18 เมษายน 2555
ประชุมพิจารณา ร่างแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2556
การสัมมนา การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คณะเทคโนโลยีพ. ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ระบบ บริหารจัดการที่ดี. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 การผลิต บัณฑิตที่ดี
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
1 การประเมิน คุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา 2550 โดย คณะกรรมการประเมิน คุณภาพภายใน เขตการศึกษา วันที่
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
1.  The alignment with national plans.  The four missions of higher education institutions.  AU uniqueness and identities.  AU academic excellence.
แนวทางการจัดทำงบประมาณ ของหน่วยงานในกำกับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ (1 ต.ค.2555 – 30 ก.ย. 2556) ฝ่ายแผนและพัฒนาบุคลากร สำนักงานอธิการบดี
แนวทางการวางแผนและจัดสรรอัตรากำลังสถาบันอุดมศึกษา
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
การตรวจสอบและประเมินระบบการ ประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ วันที่ กรกฎาคม 2550 โดยคณะกรรมการตรวจสอบและ ประเมินระบบ การประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน.
Assignment : หลักการการวิจัยการจัดการความรู้ ชื่อหัวข้อวิจัย
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การวิจัยเพื่อท้องถิ่น: ความรู้เพื่อเสริมความแกร่ง (เข้มแข็ง) ของชุมชน
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
งบประมาณ แผ่นดิน เงินรายได้ แหล่งทุนภายนอก.
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
วิจัยอย่างไร ไม่ให้เป็นภาระ แต่เป็นส่วนหนึ่ง ของการเรียนการสอน
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การศึกษาภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
การพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน ตามพระราชบัญญัติ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รศ.ดร.วิโรจ อิ่มพิทักษ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
งานวิเทศสัมพันธ์ ผศ.ดร.นิศากร ประคองชาติ
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
สังคมไทยที่พึงประสงค์ เข้มแข็งและมีดุลยภาพ 3 ด้าน
กระบวนการกลุ่ม เครือข่ายการตลาด
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
ค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจ งบกลาง 58,000 ล้านบาท.
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
หน้าที่ 1 วิสัยทัศน์ สถาบันอุดมศึกษาด้าน สุขภาพชั้นนำของอาเซียน ที่เน้นชุมชน แผนกลยุทธ์สถาบันพระบรมราชชนก ประจำปี 2553.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารงานมหาวิทยาลัย โดย ศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1. การบริหารงานมหาวิทยาลัย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการที่ดี - ประสิทธิภาพ - ธรรมาภิบาล - พึ่งพาตนเอง

2. การบริหารงานมหาวิทยาลัย บริหารวิชาการ บริหารเงิน บริหารคน ด้านการสนับสนุนพันธกิจ 4 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย ด้านการสนับสนุนพันธกิจ 4 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย

3. การบริหารเงิน - งบประมาณ แผ่นดิน รายได้ อื่น ๆ

4. การบริหารเงินรายได้ ( เพื่อการพึ่งพาตนเอง) ค่าเล่าเรียน ค่าบริการวิชาการ ค่าบำรุงงานวิจัย แหล่ง : ค่าสิทธิประโยชน์ การรณรงค์บริจาค

5. การแสวงหารายได้ จากการรณรงค์การบริจาค การให้ผลตอบแทนต่อผู้บริจาค - การลดภาษี - การลดภาษี - การประกาศเกียรติคุณ - การประกาศเกียรติคุณ - การขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ - การขอเครื่องราชอิสริยาภรณ์ฯ วัตถุประสงค์ชัดเจน / ผู้บริจาค เพื่อสนับสนุนการศึกษา การพัฒนา และการบริการวิชาการ

6. การรณรงค์บริจาค เพื่อการศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัย ทุนการศึกษา (กองทุน) - นักศึกษา - นักศึกษา - อาจารย์ - อาจารย์ อุปกรณ์การบริการ – การแพทย์ / อื่น ๆ อาคาร / สถานที่ ยานพาหนะ อื่น ๆ

7. การรณรงค์บริจาค - วิธีการ ประจำ ระยะสั้น - โครงการเฉพาะ - โครงการพิเศษ ระยะยาว - เป้าหมายชัดเจน

8. แหล่งการรณรงค์บริจาค ประชาชนทั่วไป ผู้ปกครองนักศึกษา นักศึกษาเก่า

9. การสร้างความตระหนักให้กับนักศึกษาเก่า การพัฒนาของมหาวิทยาลัย มาตรฐานการศึกษาของมหาวิทยาลัย สร้างความภูมิใจ - มั่นใจในมหาวิทยาลัย บรรยากาศด้านวิชาการ - ด้านอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัย การต้อนรับ และเยี่ยมเยือนนักศึกษาเป็นประจำ

10. การดำเนินการรณรงค์ : นักศึกษาเก่า – กลยุทธ์/วิธีการ การสร้างความสัมพันธ์ - ในโอกาสของมหาวิทยาลัย การพบปะ – ผู้บริหาร / นักศึกษาเก่า การกระตุ้นเป็นระยะ ๆ โดยสื่อต่าง ๆ การบริการวิชาการ พัฒนา - ฝึกอบรมนักศึกษาเก่า

11. การจัดตั้งเป็นกองทุนนักศึกษา - ตามที่ต้องการ ภูมิลำเนา - จังหวัด คณะ - วิชา กลุ่มเฉพาะของนักศึกษาเก่า

12. เป้าหมายการบริจาคของนักศึกษาเก่า การสร้างสิ่งก่อสร้าง - อนุสรณ์ การจัดทำเป็นกองทุนการศึกษาพัฒนามหาวิทยาลัย การบริจาคเป็นประจำเพื่อทุนเฉพาะตัว