ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาจังหวัดลำพูน Development of Elderly Health Indicators in Thailand.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
ระบบข้อมูลการป่วย ระบบงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสาเหตุภายนอก ที่ทำให้บาดเจ็บ ระบบรายงาน ระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในรายบุคคล.
สปสช. เขต 8 อุดรธานี รังสรรค์ ศรีภิรมย์ 10 พฤษภาคม 2556
บริการปฐมภูมิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
ตัวอย่าง นวัตกรรมทางการพยาบาล
บทที่ 8 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
โดย ทันตแพทย์หญิงภารณี ชวาลวุฒิ โรงพยาบาลสวนปรุง
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแล ผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 12.
25/07/2006.
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
บันได 3 ขั้น ความสำเร็จในการพัฒนาคุณภาพ
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
By Duangduan Thiangtham
สื่อการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยโปรแกรม Moodle
IM I-4 การวัด วิเคราะห์ performance ขององค์กร และการจัดการความรู้
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คู่มือการบันทึกข้อมูล 7 แฟ้ม กลุ่มข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อให้ทุกคนใน จังหวัดชลบุรีมีหลักประกันสุขภาพ สามารถ เข้าถึงบริการสุขภาพ ที่มีคุณภาพ มาตรฐานสากล.
ทิศทางการพัฒนาคุณภาพคณะกรรมการสารสนเทศ 14 ตุลาคม 2554.
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
สาขาโรคมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ 1
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมในเครือข่ายสังคม ออนไลน์ (Health Information System Development With Participation By Social Networking)
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
ALIVE NURSING RECORD ดร. วันทนา ถิ่นกาญจน์ สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลที่ได้จากการสอบสวน 1. เกิดเหตุการณ์อะไรขึ้น 2. ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นั้น 3. ใครจะเป็นผู้ที่เหมาะสมที่สุดในการแก้ไขป้องกันอุบัติเหตุในครั้งนี้
การเขียนชื่อ “เรื่อง”
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC CA-Care Cloud ภาณุวัฒน์ ประทุมขำ โปรแกรมเมอร์อาวุโส DAMASAC

CA-Care Cloud คืออะไร CA Care Cloud คือ ระบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่ง Online อยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต หรือ Cloud System CA Care Cloud ช่วยให้การดูแลผู้ป่วยมะเร็งเชื่อมโยงกันในโรงพยาบาลเครือข่ายต่างๆ ทั้งยังเชื่อมโยงไปถึงหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง และทั่วถึง CA Care Cloud เป็นการร่วมมือกันระหว่าง DAMASAC คณะสาธารณสุขศาสตร์ กับ โรงพยาบาลต่างๆ ที่ดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง

จุดประสงค์ในการทำ CA-Care Cloud เนื่องจาก DAMASAC เป็นหน่วยงานที่เชี่ยวชาญในการบริหารและจัดการข้อมูล รวมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลด้านสถิติ เพื่อสนับสนุนให้โรงพยาบาลที่ดูแลผู้ป่วยมะเร็งสามารถป้อนข้อมูลครั้งเดียว และให้ได้ข้อมูลสำหรับป้อนโครงการวิจัยอื่นด้วย เช่น CASCAP เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ป่วยโรคมะเร็ง ซึ่งจะสามารถนำมาเป็นข้อมูลป้อนเข้าสู่ระบบ DAMUS เพื่อผลิตงานวิจัยต่อไปได้

ภาพรวมของ CA-Care Cloud ออนไลน์ สามารถเชื่อมผู้ป่วยจากโรงพยาบาลต่างๆ เข้าด้วย โดยใช้เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก การป้อนข้อมูลทำได้ง่าย โดยการป้อนข้อมูลชิ้นเล็กๆ โดยไม่ต้องรอฟอร์มการเก็บข้อมูล ข้อมูลแต่ละครั้ง ประกอบไปด้วย Who What Where When How Whom แสดงรายงานเฉพาะหน่วยบริการ หรือเปรียบเทียบกับหน่วยบริการอื่น หรือทั้งหมด มีระบบดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลอื่นของโรงพยาบาลเพื่อมาประมวลผล

Prototype

CA Care Cloud กับคณะฯ เนื่องจากอยู่ในช่วงเริ่มต้นการพัฒนา ทางทีมงานพัฒนา ยินดีร่วมงานกับทุกท่าน ที่เล็งเห็นความสำคัญและพัฒนาต่อยอด ฐานข้อมูลสามารถเพิ่มฟอร์มการเก็บข้อมูลจากโครงการวิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกับโรคมะเร็ง เมื่อทำการเก็บข้อมูล จะได้ข้อมูลทะเบียนโรคมะเร็ง และ ข้อมูลการให้บริการด้านการแพทย์เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ที่สามารถนำมาเป็นวัตถุดิบในการทำวิจัยต่อไป

THANK YOU CA-Care Cloud Team