งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยสมุนไพร ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุบลราชธานี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค โรงพยาบาลกุดชุม ชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ

2 นโยบายกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
สนับสุนน งานวิจัย วิชาการ พัฒนาความรู้ความเข้าใจผู้สั่งใช้ยา ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพสนับสนุนในระยะแรก เป็นที่ปรึกษาการพัฒนาสถานที่ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพ พัฒนากระบวนการผลิตและควบคุมคุณภาพ พัฒนาสูตรตำรับ

3 ประชาชน/ผู้รับบริการ
นโยบายจังหวัดยโสธร โรงพยาบาล (สั่งใช้ยา) สถานีอนามัย (สั่งใช้ยา) โรงพยาบาลกุดชุม (ฐานการผลิต) ยาสำเร็จรูป ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ วัตถุดิบ ชุมชน วัตถุดิบ พึ่งตนเอง ยาสำเร็จรูป ยาสำเร็จรูป ประชาชน/ผู้รับบริการ

4 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประชาชน/ผู้รับบริการ
MODEL DMSC 53 นโยบายจังหวัดยโสธร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาล (สั่งใช้ยา) พัฒนาความรู้ความเข้าใจผู้สั่งใช้ยา ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพสนับสนุนใน ระยะแรก สถานีอนามัย (สั่งใช้ยา) ยาสำเร็จรูป เป็นที่ปรึกษาการพัฒนาสถานที่ผลิต ยาสมุนไพรคุณภาพ GMP พัฒนากระบวนการผลิตและควบคุม คุณภาพ พัฒนาสูตรตำรับ โรงพยาบาลกุดชุม (ฐานการผลิต) ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ ยาสำเร็จรูป วัตถุดิบ วัตถุดิบ ชุมชน พึ่งตนเอง ความรู้การปลูก การดูแล และการ เก็บเกี่ยว สมุนไพร สายพันธุ์ที่ดี ยาสำเร็จรูป ประชาชน/ผู้รับบริการ

5 สถานการณ์ปัจจุบัน ขบวนการผลิต แหล่งวัตถุดิบ - ส่วนใหญ่ใช้กำลังคน
- กำลังการผลิตน้อย แหล่งวัตถุดิบ -ซื้อจากชาวบ้าน -บางฤดูกาลไม่เพียงพอ แหล่งกระจายยา - โรงพยาบาลกุดชุม

6 กรอบแนวคิด ขบวนการผลิต วัตถุดิบ แหล่งกระจาย - การปลูก - บุคลากร
- เครื่องมืออุปกรณ์ - สถานที่ - การควบคุมคุภาพ วัตถุดิบ - การปลูก - การดูแลรักษา - การเก็บเกี่ยว - ควบคุมคุณภาพ แหล่งกระจาย -ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพ -เป็นที่ยอมรับ -เพียงพอต่อความ ต้องการ

7 บัญชียาหลักแห่งชาติ พิจารณาร่วมกัน 2 ชนิด ชนิดที่ 1 ฟ้าทะลายโจร
ชนิดที่ 2 ขมิ้นชัน

8 สิ่งที่คาดหวังในอนาคต
ครอบคลุมประชากร จำนวน 500,000 คน แบ่งเป็น - รพท. จำนวน 1 แห่ง - รพช. จำนวน 8 แห่ง - สอ. จำนวน111 แห่ง รวม 120 แห่ง จำนวนที่ต้องการผลิต - ฟ้าทะลายโจรแคปซูล จำนวนประมาณ 500,000 แคปซูล - ขมิ้นชันแคปซูล 1,000,000 แคปซูล

9 ผลการดำเนินงาน กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันวิจัยสมุนไพร สนับสนุน
ข้อมูลวิชาการ ฟ้าทะลายโจร แคปซูล 1,000,000 แคปซูล ขมิ้นชัน แคปซูล 1,000,000 แคปซูล พัฒนาสถานที่ผลิตยาสมุนไพรคุณภาพ(GMP) ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุบลราชธานี สนับสนุน จัดประชุมวิชาการ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ -ชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ -จนท.ภาครัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสมุนไพร อาทิเช่นแพทย์,เภสัชกร เป็นต้น

10 ผลการดำเนินงาน(ต่อ) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยโสธร
กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค ประสานเชื่อมโยงเครือข่ายผู้ใช้ยาจากสมุนไพร กระจายยาสมุนไพรให้แก่ รพท,รพช,สอ ติดตามการใช้ยาสมุนไพร ดำเนินการพัฒนาสถานที่ผลิต โรงพยาบาลกุดชุม พัฒนาชุมชนผู้ปลูกสมุนไพร เป็นฐานการผลิตสมุนไพร

11 ผลการดำเนินงาน(ต่อ) ชุมชนผู้ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ
* ปลูกสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง ของชุมชนตามภูมิปัญญาชาวบ้าน * ปลูกสมุนไพรเป็นวัตถุดิบ เพื่อป้อนแหล่งผลิต * ชุมชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ประชาชน/ผู้รับบริการ * ได้รับยาที่มีคุณภาพ ปลอดภัย * ได้ช่วยเหลือชุมชนของตนเอง


ดาวน์โหลด ppt โครงการความร่วมมือในการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร คุณภาพสู่ระบบบริการสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google