งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
วิทยากร โดย นางสาวอนงค์ เนตรวงค์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ

2 งานสารบรรณ 1. การจัดทำ 2. การรับ 3. 3. การส่ง 4. การเก็บรักษา
1. การจัดทำ 2. การรับ 3. 3. การส่ง 4. การเก็บรักษา 5. การยืม 6. การทำลาย

3 ระเบียบงานสารบรรณ สำเนาคู่ฉบับ สำเนา
สำเนาคู่ฉบับ สำเนา ชั้นความเร็ว - ด่วน - ด่วนมาก ด่วนที่สุด ชั้นความลับ - ลับ ลับมาก ลับที่สุด

4 ชนิดของหนังสือราชการ
1.หนังสือภายนอก (ใช้กระดาษตราครุฑ) 2.หนังสือภายใน (ใช้กระดาษบันทึกข้อความ) 3. หนังสือประทับตรา (ใช้กระดาษตราครุฑ) ไม่มีคำลงท้าย 4. หนังสือสั่งการ ได้แก่ คำสั่ง ระเบียบ และข้อบังคับ 5. หนังสือประชาสัมพันธ์ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์และข่าว 6. หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เพื่อเป็นหลักฐานทางราชการ ได้แก่ หนังสือรับรอง รายงานการประชุม บันทึก ฯลฯ

5 (หนังสือครุฑหรือหนังสือกลาง) ภายในกระทรวง ต่างกรม
หนังสือภายนอก หนังสือภายใน นอกกระทรวง ใช้กระดาษตราครุฑ (หนังสือครุฑหรือหนังสือกลาง) ภายในกระทรวง ต่างกรม ใช้กระดาษบันทึกข้อความ บันทึก ใช้ในกรมเดียวกัน ใช้กระดาษบันทึกข้อความหรือกระดาษอื่นๆ

6 การเขียนชื่อหน่วยงาน
เจ้าของหนังสือ คือ ผู้มีอำนาจลงนาม (ที่ กค 0606/) เจ้าของเรื่อง คือ ผู้จัดทำหนังสือ หนังสือภายนอก เจ้าของหนังสือ เจ้าของเรือง หนังสือภายใน เจ้าของหนังสือ เจ้าของเรื่อง

7 ส่วนหัวของหนังสือ เรื่อง ขอเชิญเข้าร่วมประชุม เรียน อธิบดีกรมสุขภาพจิต
เรื่อง ขอเชิญเข้าร่วมประชุม เรียน อธิบดีกรมสุขภาพจิต อ้างถึง หนังสือกรมสุขภาพจิต ที่ สธ ๐๘๐๘/๒๖๕ ลงวันที่..... สิ่งที่ส่งมาด้วย ๑ จำนวน ๑ แผ่น ๒ จำนวน ๑ แผ่น

8 การเขียน “ เรื่อง ” ขึ้นต้นด้วยคำกริยา จะชัดเจนดี เช่น ขอเชิญ..อนุมัติ... ลักษณะของ เรื่อง ทีดี ๑. เป็นวลี หรือประโยคสั้น ๆ ๒. ใช้ภาษาง่าย หรือชัดเจน ๓. ตรงประเด็นและตรงกับส่วนสรุป ๔. ไม่ซ้ำกับเรื่องอื่น ๕. สุภาพ และรักษาน้ำใจของผู้รับ

9 การเขียนส่วนเนื้อหา หลัก 5 W 1 H Who (Whom) ใคร What อะไร Where ที่ไหน
When เมื่อไหร่ Why ทำไม How อย่างไร

10 การเขียนส่วนเนื้อหา ย่อหน้าแรก
ส่วนนำ สาเหตุที่เขียนหนังสือนี้ เรื่องเดิมที่เคยติดต่อกันมา ปัญหา/เหตุการณ์ (ไม่ควรเกิน ๕ บรรทัด) ย่อหน้าที่สอง ข้อเท็จจริง ข้อมูล รายละเอียด ประเด็นสำคัญ ข้อกฎหมาย ย่อหน้าที่สามและสี่ (อาจรวมกันได้) ความคิดเห็น / ข้อพิจารณา / ข้อวิเคราะห์ /ข้อเสนอ /ความต้องการ คำลงท้าย เพื่อสรุป เน้นย้ำ ขอบคุณ แสดงความหวัง

11 ข้อความต่อท้ายย่อหน้า
ความละเอียดแจ้งแล้ว นั้น รายละเอียดตามสิ่งที่ส่งมาด้วย รายละเอียดตามเอกสารแนบ

12 หลักการเขียนเนื้อหาในหนังสือราชการ
๑. ปัญหา เหตุโดยตรงที่ออกหรือเขียนหนังสือ กล่าวนำ เรื่องเดิม ที่มาของเรื่อง ต้นเรื่อง ประเด็นที่จะพิจารณา (ตอบคำถามว่าทำไมจึงทำเรื่องนี้) การเขียนปัญหา สั้น กะทัดรัด ชัดเจน ถูกต้อง ตรงประเด็น ๒. ข้อเท็จจริง คือข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณา ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อกับเรื่องนั้น เช่น ข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง เป็นต้น การเขียนข้อเท็จจริง ถูกต้อง ตรงประเด็น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องครบถ้วน

13 หลักการเขียนเนื้อหาในหนังสือราชการ
๓. ข้อพิจารณา คือ การวิเคราะห์เรื่องเพื่อเสนอความเห็น พิจารณาอย่างมาหลักเกณฑ์ มีมาตรฐาน มีเหตุผล พิจารณาให้เห็นประโยชน์ที่จะได้รับหรือความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียจากทางเลือก ๔. ข้อเสนอ คือการเลือกหนทางที่ดีที่สุด และวิธีดำเนินการเพื่อให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาสั่งการได้ โดยให้ความเห็นก่อนให้ข้อเสนอ

14 บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา
ประเภทของบันทึก บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา บันทึกสั่งการของผู้บังคับบัญชา บันทึกติดต่อราชการสำหรับเจ้าหน้าที่ หรือระหว่างหน่วยงานที่ต่ำกว่ากรม

15 บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา
บันทึกย่อเรื่อง บันทึกรายงาน บันทึกขออนุญาต ขออนุมัติ บันทึกความเห็น

16 แบบบันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา
บันทึกต่อเนื่อง บันทึกลักษณะรายงานสั้น (รูปแบบจดหมาย)

17 ข้อความที่เขียนในบันทึกต่อเนื่อง
คำขึ้นต้น ไม่เขียน “เรื่อง” ข้อความเนื้อเรื่อง สั้น กระชับ ลงชื่อ ตำแหน่ง วัน / เดือน / ปี

18 การเขียนเนื้อหาในบันทึกต่อเนื่อง
สรุปย่อเรื่อง ให้ข้อเท็จจริง แสดงข้อคิดเห็น ให้ข้อเสนอ

19 การบันทึกต่อเนื่องของผู้บังคับบัญชา ตามลำดับชั้น
ไม่บันทึกซ้ำ เพิ่มเติมส่วนที่ไม่สมบูรณ์ บันทึกสนับสนุน ลงชื่อ ยอมรับ ไม่นิยมบันทึกแย้ง(กรณีเห็นแย้งควรหารือก่อน)

20 การนำเสนอบันทึก เสนอตามลำดับขั้น เสนอถึงผู้มีอำนาจตกลงใจ

21 ข้อความที่เขียนในบันทึกรายงานสั้น
คำขึ้นต้น เขียน “เรื่อง” ข้อความเนื้อเรื่อง ครบถ้วน ลงชื่อ ตำแหน่ง วัน / เดือน / ปี อยู่หัวกระดาษ

22 หลักการบันทึกข้อความ
1. ปัญหา 2. ข้อเท็จจริง 3. ข้อพิจารณา 4. ข้อเสนอ

23 โจทย์ที่ 1 ไมโครโฟนที่ใช้ประจำห้องประชุมนี้ชำรุด ไม่สามารถใช้งานได้ ให้เขียนบันทึกเสนอถึงหน่วยงานซ่อมบำรุง ขอส่งซ่อม

24 แนวทางในการเขียน จึงเรียนมาเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไปด้วยจะขอบคุณยิ่ง
ด้วยไมโครโฟนที่ใช้ประจำห้องประชุมนี้ชำรุด ไม่สามารถใช้งานได้ / เนื่องจากใช้งานมานาน / ดังนั้นเพื่อให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ / จึงขอส่งซ่อมให้ใช้งานได้โดยด่วนด้วย จึงเรียนมาเพื่อพิจารณาดำเนินการต่อไปด้วยจะขอบคุณยิ่ง

25 โจทย์ที่ 2 หน่วยงานของท่านจะจัดการฝึกอบรมหลักสูตร การเขียนหนังสือราชการ ให้ท่านเขียนหนังสือเชิญอาจารย์นภาลัย ไปเป็นวิทยากร (เขียนเป็นโครงสร้างความคิด)

26 แนวทางในการเขียน ย่อหน้าแรก (ใช้ 5w 1H) ด้วย หน่วยจะทำอะไร ให้แก่ใคร เมื่อไร ที่ไหน โดยมีวัตถุประสงค์อย่างไร รายละเอียดตามสิ่งที่ส่งมาด้วย ย่อหน้าสอง บรรยายคุณสมบัติ หรือข้อเท็จจริง ของผู้รับเชิญว่ามีความรู้ความสามารถอย่างไร / แสดงข้อคิดเห็นที่เชิญ เพื่ออะไร/ และขอเชิญไปเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อใด เมื่อไร ย่อหน้าสาม ข้อความปิดท้าย จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา / แสดงความหวัง/และขอขอบคุณ

27 โจทย์ที่ 3 มีหน่วยงานหรือบุคคล มีหนังสือขอหารือหน่วยงานของท่านเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับข้อกฎหมายหรือ ระเบียบ ให้ท่านเขียน บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา เพื่อให้ข้อเสนอแนะในการปฏิบัติ หนังสือราชการตอบข้อหารือ

28 แนวทางเขียนบันทึกเสนอ
ย่อหน้าแรก (ประเด็นเรื่องที่พิจารณา) ด้วย หน่วยหรือบุคคล ขอหารือหน่วยงานเรา เกี่ยวกับ______________ รายละเอียดตามหนังสือหน่วย___ที่___ลงวันที่_______ ย่อหน้าสอง หน่วยเจ้าของเรื่อง ได้ตรวจสอบแล้ว ข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร____________________________ ตามระเบียบ________ว่าอย่างไร________________ ย่อหน้าสาม เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบ ________เห็นสมควรให้หน่วยดำเนินการ (สรุประเบียบตรงประเด็นที่จะให้หน่วยปฏิบัติ)_________________________ ย่อหน้าสี่ ข้อความปิดท้าย จึงเรียนมาเพื่อพิจารณาหากเห็นสมควรโปรดอนุมัติและลงนามในหนังสือที่แนบ

29 แนวทางการเขียนหนังสือตอบข้อหารือ แบบตัว T หัวกลับ
ย่อหน้าแรก ตามหนังสือที่อ้างถึง หน่วยท่าน ขอหารือ หน่วยเรา เกี่ยวกับ_______________ความละเอียดแจ้งแล้ว นั้น ย่อหน้าสอง หน่วยเราขอเรียนว่า ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร ____________________________________________ระเบียบที่เกี่ยวข้องว่าอย่างไร________ __________________ ย่อหน้าสาม เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบ___________ ขอให้หน่วยท่านดำเนินการ (สรุประเบียบตรงประเด็นที่จะให้หน่วยปฏิบัติ )_________________________________ ___________ ย่อหน้าสี่ ข้อความปิดท้าย จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

30 แนวทางการเขียนหนังสือตอบข้อหารือ แบบตัว T หัวตั้ง
ย่อหน้าแรก ตามหนังสือที่อ้างถึง หน่วยท่าน ขอหารือ หน่วยเรา เกี่ยวกับ_______________ความละเอียดแจ้งแล้ว นั้น ย่อหน้าสอง หน่วยเราขอเรียนว่า ที่หน่วยท่านหารือมานั้น ได้/ไม่ได้ ,ให้/ไม่ให้ , ขัดข้อง/ไม่ขัดข้อง ให้ดำเนินการอย่างไร________________ และให้อ้างอิง กฎ ระเบียบไปด้วย ย่อหน้าสาม ข้อความปิดท้าย จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

31 โจทย์ที่ 4 ให้เขียนบันทึกเสนอขออนุมัติดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ ตามลำดับดังนี้ ย่อหน้าแรก ที่มาของโครงการ (จากหลักการและเหตุผล) ที่มาของโครงการ (จากปัญหา) ที่มาของโครงการ (จากนโยบาย) ย่อหน้าสอง รายละเอียดการดำเนินการและค่าใช้จ่าย ย่อหน้าสาม ผลที่คาดว่าจะได้รับ ย่อหน้าสี่ คำขออนุมัติ

32 แนวทางการเขียนบันทึกเสนอขออนุมัติดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ (จากหลักการและเหตุผล)
การเขียนหนังสือราชการที่ถูกต้อง เป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งในการปฏิบัติงาน ทำให้สามารถสื่อสารได้เข้าใจ ถูกต้องตรงกัน ไม่ต้องเสียเวลาในการแก้ไข ส่งผลให้งานเป็นไปด้วยความรวดเร็ว หน่วยได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมการเขียนหนังสือราชการขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรได้มีความรู้ความเข้าใจสามารถเขียนหนังสือราชการได้ถูกต้อง รายละเอียดตามโครงการแนบ 2. ______________________________________________ 3. ______________________________________________ 4. ______________________________________________

33 แนวทางการเขียนบันทึกเสนอขออนุมัติดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ (จากนโยบาย)
ตามนโยบายกระทรวง________มุ่งเน้นพัฒนาบุคลากรของหน่วยให้มีทักษะในการเขียนหนังสือราชการ เพื่อตอบสนองนโยบายดังกล่าว จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมการเขียนหนังสือราชการขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรได้มีความรู้ความเข้าใจสามารถเขียนหนังสือราชการได้ถูกต้อง รายละเอียดตามโครงการแนบ 2. ______________________________________________ 3. ______________________________________________ 4. ______________________________________________

34 แนวทางการเขียนบันทึกเสนอขออนุมัติดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ (จากปัญหา)
1. ด้วยปัจจุบันการเขียนหนังสือราชการของหน่วย มักมีข้อบกพร่อง ผิดพลาดอยู่เสมอ ผู้บังคับบัญชาต้องเสียเวลาในการตรวจแก้ไขให้ถูกต้อง ทำให้งานล่าช้า เนื่องจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการร่างหนังสือยังขาดความรู้ความเข้าใจในการเขียนหนังสือราชการ หน่วยได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการฝึกอบรมการเขียนหนังสือราชการขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรได้มีความรู้ความเข้าใจสามารถเขียนหนังสือราชการได้ถูกต้อง รายละเอียดตามโครงการแนบ

35 2. รายละเอียดการดำเนินการ
2.1 หัวข้อการอบรมและวิทยากร ประกอบด้วย___________โดย_________วิทยากรจาก______________________________________ 2.2 รูปแบบการฝึกอบรม_________________________________ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เป็น____________จำนวน______คน 2.4 กำหนดการอบรม ตั้งแต่ _______ถึง___________________ ณ.__________ 2.5 งบประมาณในการฝึกอบรม จำนวน________บาท จากงบ____ตามประมาณค่าใช้จ่ายที่แนบพร้อมกับโครงการ

36 3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ การฝึกอบรมครั้งนี้จะได้รับประโยชน์ กล่าวคือ บุคลากรที่รับการฝึกอบรมจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงาน ทำให้การเขียนหนังสือราชการของหน่วยเป็นมาตรฐานและแนวทางเดียวกัน ประหยัดเวลา ค่าใช้จ่าย และเกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่หน่วย 4. ขออนุมัติดำเนินการดังนี้ ให้ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ___________________ 4.2 ให้หน่วยที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติด้วยจะขอบคุณยิ่ง

37 ปัญหา การเขียนปัญหา (ตัวปัญหา กล่าวนำ เรื่องเดิม
ที่มาของเรื่อง ต้นเรื่อง) ประเด็นของเรื่องที่จะพิจารณา (ตอบคำถามว่าทำไมจึงทำเรื่องนี้) การเขียนปัญหา สั้น กะทัดรัด ชัดเจน ถูกต้อง ตรงประเด็น Who What When Where Why How

38 ข้อเท็จจริง การเขียนข้อเท็จจริง คือข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณา
สาเหตุ ความเป็นมาของเรื่อง (เรื่องเดิม) ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้นซึ่งปรากฏชัด กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ข้อกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง หลักการ หลักวิชา หลักเกณฑ์ แผนพัฒนา นโยบาย และมติที่ประชุม ตัวอย่างที่คล้ายคลึงพอจะเทียบเคียงได้ การเขียนข้อเท็จจริง ถูกต้อง ตรงประเด็น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องครบถ้วน

39 ข้อพิจารณา คือ การวิเคราะห์เรื่องเพื่อเสนอความเห็น
พิจารณาอย่างมีหลักเกณฑ์ พิจารณาอย่างมีมาตรฐาน พิจารณาอย่างมีเหตุผล พิจารณาให้เห็นประโยชน์ที่จะได้รับ หรือความเสียหายที่คาดว่าจะเกิดขึ้น เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย จากทางเลือก

40 โจทย์ที่ 5 ให้เขียนข้อพิจารณาและข้อเสนอ
แบบที่ 1 แยกข้อพิจารณาและข้อเสนอ แบบที่ 2 รวมข้อพิจารณาและข้อเสนอเป็นข้อเดียวกัน ตามสถานการณ์นี้ ปัญหา การปฏิบัติงานด้านสารบรรณของหน่วยยังขาดประสิทธิภาพ ล่าช้า การเขียนหนังสือราชการมักมีข้อบกพร่อง ผิดพลาดอยู่เสมอ ทำให้ใช้เวลามากในการตรวจแก้หนังสือกว่าจะสำเร็จ สาเหตุ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนหนังสือราชการขาดทักษะในการเขียนหนังสือราชการที่ถูกต้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการปฏิบัติงานมีอยู่ 2 เครื่อง เป็นเครื่องเก่าล้าสมัย ไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน

41 แนวทางการเขียนข้อพิจารณาและข้อเสนอแบบแยกข้อ
ข้อพิจารณา หน่วยพิจารณาแล้วเห็นว่า หากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนหนังสือราชการได้รับการอบรมการเขียนหนังสือราชการที่ถูกต้อง และหน่วยมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยเพิ่มเติม จะทำให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วยิ่งขึ้น ข้อเสนอ เห็นควรดำเนินการดังนี้ ส่งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนหนังสือราชการเข้ารับการฝึกอบรมการเขียนหนังสือราชการ___________________________ 2. เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ 2 เครื่อง ให้ทันสมัยและรวดเร็วยิ่งขึ้น 3. จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยเพิ่มเติม จำนวน 1 เครื่อง จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

42 แนวทางการเขียนข้อพิจารณาและข้อเสนอแบบรวมกัน
ข้อคิดเห็นและข้อเสนอ เพื่อให้การปฏิบัติงานของหน่วยมีประสิทธิภาพรวดเร็วยิ่งขึ้น เจ้าหน้าที่มีทักษะในการเขียนหนังสือราชการได้ถูกต้องเป็นมาตรฐาน และมีคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน เห็นควรดำเนินการดังนี้ 1. ส่งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนหนังสือราชการเข้ารับการฝึกอบรมการเขียนหนังสือราชการ___________________________________ 2. เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ 2 เครื่อง ให้ทันสมัยและรวดเร็วยิ่งขึ้น จัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยเพิ่มเติม จำนวน 1 เครื่อง จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา

43 ข้อพิจารณาที่มีพลัง พิจารณาในแง่ความเสียหาย เปรียบเทียบข้อดีข้อเสีย

44 ข้อบกพร่องในการเขียนข้อพิจารณา
ขาดข้อพิจารณา เขียนข้อพิจารณาเป็นข้อเสนอ เขียนข้อเสนอก่อนข้อพิจารณา

45 ข้อเสนอ คือ การเลือกหนทางที่ดีที่สุด และวิธีดำเนินการ
เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาสั่งการ ข้อเสนอมี 2 ลักษณะ ข้อเสนอในหลักการ ข้อเสนอกำหนดวิธีดำเนินการ ข้อเสนอที่ดี มีความเป็นไปได้ บรรลุวัตถุประสงค์ ผลกระทบและความเสี่ยงน้อยที่สุด (จะบรรลุข้อเสนอที่ดีได้ ต้องประสานงาน)

46 การเขียนข้อเสนอ เสนอในหลักการและวิธีดำเนินการ
ตอบปัญหา และสอดคล้องกับความเห็น ชัดเจน แยกประเด็น ผู้บังคับบัญชาสามารถสั่งการได้ ให้ความเห็นก่อนให้ข้อเสนอ

47 ลักษณะทั่วไปของการเขียนบันทึกที่ดี
มีความเป็นเอกภาพ สั้น กะทัดรัด ชัดเจน ความยาวไม่เกิน หน้า ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน ตรงประเด็น ข้อพิจารณามีหลักเกณฑ์ เหตุผล ไม่นำความเห็นส่วนตัวเข้ามาพัวพัน ข้อเสนอมีความเป็นไปได้ บรรลุวัตถุประสงค์ มีผลกระทบและความเสี่ยงน้อยที่สุด มีความสมบูรณ์ ทันเวลา ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชา

48 กระบวนการคิด การเขียน การแก้ปัญหา ปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อพิจารณา ข้อเสนอ อริยสัจสี่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค

49 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google