งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย เมืองเทโทโว สาธารณรัฐมาซิโดเนีย

2 สิ่งที่การทำวิจัยนี้สนใจ วัตถุประสงค์หลักของการทำวิจัย
มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสำรวจตามเว็บถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่ e - learning ผู้วิจัยใช้เป็นการกำหนดตัวชี้วัดของ e - learning ที่มี อิทธิพลต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning สิ่งที่การทำวิจัยนี้สนใจ พัฒนาตัวชี้วัดที่มีมาก่อนหน้านี้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์หลักของการทำวิจัย เพื่อปรับปรุงคุณภาพการเผยแพร่ความรู้ของ e-learning โดยการกำหนดตัวชี้วัดให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถใช้ได้ทุกสภาพแวดล้อม ข้อเสนอแนะของตัวชี้วัดอยู่ในรูปแบบที่ใช้ในวงกว้างสามารถปรับใช้ได้กับทุก สภาพแวดล้อมของ e-learning

3 Key words E-Learning การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
indicators ตัวชี้วัด enhanced learning การเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้

4 บทนำ การออกแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสม ทำให้สามารถประเมินและวัดผลการเรียนรู้ของนักเรียนได้ การออกแบบการเรียนการสอนต้องยืดหยุ่นได้ วัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์เปรียบเทียบตัวชี้วัดและผลลัพธ์ของ e-learning โดยสรุปที่จะถูกใช้อย่างกว้างขวาง

5 ตัวชี้วัดของ e-learning
ตัวชี้วัด e - learning มีการประเมินและการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับ สภาพแวดล้อมเสมือนจริง โดยซอฟแวร์ Angel Learning Management System-LMs

6 ภาพรวมของการสำรวจ หลักทั่ว ๆ ไปของการออกแบบ :
ผู้ชมหรือผู้ใช้งาน + จุดประสงค์หรือความต้องการ = การออกแบบ การสำรวจครั้งนี้แบ่งเป็น 17 ส่วน ครอบคลุมเนื้อหาของ e-learning ตามข้อมูลที่กล่าว มาแล้วข้างต้น ตัวชี้วัดกำหนดไว้ก่อนหน้านี้มีทั้งหมด 23 คำถาม ตัวชี้วัดถูกแจ้งให้ทราบผ่านลิงค์ไปยังผู้เกี่ยวข้องบนเว็บบอร์ด ซึ่งเป็นระบบ e-service ของมหาวิทยาลัย ข้อมูลถูกเก็บโดย Angel Learning Management System และวิเคราะห์เพิ่มเติมโดย โปรแกรม Excel

7 การวิเคราะห์ผลสำรวจและผลลัพธ์
เพราะว่าการวิจัยนี้มีข้อจำกัด เราจึงพูดถึงการวิจัยในมหาวิทยาลัยของเราเท่านั้น และได้ วิเคราะห์ตัวชี้วัดที่สำคัญหลายตัวแล้วว่ามีความสำคัญ วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: อุปสรรค - ขอบเขต วิเคราะห์ของตัวบ่งชี้: หลักสูตรที่เหมาะสมเพื่อการเรียนรู้

8 ตัวชี้วัด 1. อุปสรรค

9 ตัวชี้วัด 2. เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการเรียนรู้

10 ตัวชี้วัด 3. รูปแบบเนื้อหา

11 ตัวชี้วัด 4. เวลาที่ดีที่สุดสำหรับการเรียนออนไลน์

12 ตัวชี้วัด 5. การตั้งค่า E – Learning

13 ตัวชี้วัด 6. การเข้าถึงสื่อการเรียนรู้

14 สรุป การใช้วิธีการที่จะประสบความสำเร็จนั้น เราสรุปได้ว่าเพื่อที่จะประสบความสำเร็จใน การทำ e-learning ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัวหรือแนวทางแบบเดียวกับสำหรับผู้เรียนทุกคน การเรียนรู้ต้องมีนำไปประยุกต์ใช้กับการให้บริการการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลและ จำเป็นต้องสนับสนุนการเรียนรู้ตามการตั้งค่าที่ผู้เรียนเลือก

15 1.งานวิจัยนี้เกี่ยวข้องกับ IS ของเรายังไง ใช้งานวิจัยนี้เพื่อทำการสำรวจกลุ่มเป้าหมายก่อนการทำ e-learning 2.ผู้ทำวิจัยมีแรงจูงใจอะไรในการทำวิจัยชิ้นนี้ เจอปัญหาอะไร แล้วสนใจศึกษาในเรื่องอะไร มุ่งเน้นกลุ่มนักศึกษาและการสำรวจตามเว็บถูกนำมาใช้เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ สภาพแวดล้อมที่ e - learning ผู้วิจัยใช้เป็นการกำหนดตัวชี้วัดของ e - learning ที่มีอิทธิพล ต่อคุณภาพโดยรวม ความคิดและความสนใจเกี่ยวกับ e - learning 3.ผู้ทำวิจัยใช้เทคนิคอะไรในการทำวิจัย การวิจัยเชิงคุณภาพและการวิเคราะห์เปรียบเทียบของตัวชี้วัด e - learning ที่มีอิทธิพลต่อการ เรียนรู้

16 4.งานวิจัยนี้ค้นพบอะไร การจะทำ e-learning ที่ประสบความสำเร็จไม่มีเกณฑ์ทั่วไปหรือแนวทางเดียวกันสำหรับ ผู้เรียนทุกคนสามารถนำมาใช้ แต่การบริการการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลมีความจำเป็นต่อ การสนับสนุนผู้เรียนให้ตรงความต้องการของแต่ละคนได้โดยกำหนดจากการตั้งค่าของ ผู้เรียนเอง 5.งานวิจัยนี้ช่วยงานของเราได้อย่างไร มีแนวทางในการสำรวจกลุ่มเป้าหมาย และกำหนดตัวชี้ก่อนการทำ e-learning 6.ทำไมเราถึงเลือกงานวิจัยนี้ การสำรวจกลุ่มเป้าหมายเพื่อหาตัวชี้วัดที่เหมาะสมกับงานของตน


ดาวน์โหลด ppt การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google