การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขต 5 ปี 2552
จำนวนเครือข่ายหน่วยบริการประจำ ของ เขต 5 สังกัด กท.สธ นอกสังกัด เอกชน รวม เพชรบุรี 8 1 9 สมุทรสงคราม 3 สมุทรสาคร 2 5 ประจวบคีรีขันธ์ 10 22 27
จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5 จังหวัด ในสังกัด กท.สธ นอกสังกัด กท.สธ. รพ.เอกชน เทศบาล/กาชาด รวม (แห่ง) จำนวน ร้อยละ เพชรบุรี 126 38.76 1 0.77 0.00 3 2.31 130 สมุทรสงคราม 54 16.61 สมุทรสาคร 59 18.15 2 3.28 61 ประจวบฯ 86 26.46 2.20 4 4.40 92 325 96.43 0.89 0.60 7 2.08 337
จำนวนประชากร ต่อหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5 จำนวน (แห่ง) ประชากร (คน) เฉลี่ย/แห่ง สถานีอนามัย 305 4,147 ใน รพช. 13 8,094 นอก รพช. 1 4,938 ใน รพท./รพศ 2 27,039 นอก รพท./รพศ 4 11,359 นอกสังกัด สธ./เอกชน 12 11,719 รวม 337 4,820
จำนวนบุคลากรที่ปฏิบัติงานประจำที่หน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5 จำนวน (แห่ง) ร้อยละ 1 คน 4 1.19 2 คน 44 13.06 3 คน 121 35.91 4 คน 96 28.49 5 คน 49 14.54 6 คน 12 3.56 7 คน 3 0.89 8 คน ขึ้นไป 8 2.37 รวม 337 100.00
ประเภทของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต5 ประเภทบุคลากร จำนวน (คน) ร้อยละ แพทย์ 29 2.41 ทันตแพทย์ 12 1.00 เภสัชกร 20 1.66 ทันตาภิบาล 41 3.41 พยาบาลเวชปฏิบัติ 198 16.47 พยาบาลวิชาชีพ 166 13.81 นักวิชาการสาธารณสุข 271 22.55 จนท.บริหาร/จพ. สธ 453 37.69 จพ. เภสัช รวม 1,202 100.00
ข้อมูลพยาบาล/พยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปในหน่วยบริการปฐมภูมิ ของ สอ./CMU/รพสต. เขต 5 จังหวัด จำนวน สอ./CMU/รพสต. (แห่ง) มีพยาบาลปฏิบัติงาน (แห่ง) จำนวนพยาบาลเวชปฏิบัติ(คน) อำเภอ พยาบาล (คน) มี ร้อยละ ไม่มี อบรมแล้ว ยังไม่อบรม เพชรบุรี 8 118 102 84 71.19 34 28.81 71 69.61 31 30.39 สมุทรสงคราม 3 54 78 53 98.15 1 1.85 28 35.90 50 64.10 สมุทรสาคร 56 25 44.64 55.36 11 44.00 14 56.00 ประจวบ ฯ 81 62 47 58.02 41.98 36 58.06 26 41.94 รวม 22 309 267 209 67.64 100 32.36 146 54.68 121 45.32
การจัดบริการปฐมภูมิ ของ เขต5 การจัดบริการปฐมภูมิ ของ เขต5 จังหวัด รพ.ไร้ความ แออัด การจัดบริการ ปฐมภูมิ ในเขตชนบท CMU รพสต. เพชรบุรี 2 1 8 สมุทรสงคราม 3 สมุทรสาคร 4 ประจวบคีรีขันธ์ 9 รวม 5 24
ผลการตรวจประเมินหน่วยบริการปฐมภูมิตามมาตรฐาน ศูนย์สุขภาพชุมชน ของ เขต 5 จังหวัด PCU สังกัด กท.สธ ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ร้อยละ เพชรบุรี 126 113 89.68 สมุทรสงคราม 54 43 79.63 สมุทรสาคร 59 26 44.06 ประจวบคีรีขันธ์ 86 58 67.44 รวม 325 240 73.85
การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ ของเขต 5 - การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ในภาพรวมของเขต 5 ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 73.85 ส่วนใหญ่ไม่ผ่านเกณฑ์ เรื่อง การมีและใช้ Family Folder , การมีและใช้ Communily Folder , การขาดแคลนบุคลากร - การมีฐานข้อมูลประชากร และปัญหาสุขภาพของประชากรในความรับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ , เด็ก 0 – 5 ปี , ผู้สูงอายุ , ผู้พิการ , ผู้ป่วยเรื้อรัง - การจัดบริการปฐมภูมิของเครือข่าย ในด้านการกระจายกำลังคน/ กระจายเงิน และรูปแบบการจัดบริการ
ปัญหา – อุปสรรค ปัญหา – อุปสรรค แนวทางแก้ไข 1.พยาบาลวิชาชีพ ยังไม่ได้รับการอบรม พยาบาลเวชปฏิบัติ ครอบคลุม ทุกราย 2. จนท. สธ /จนท.บริหาร / นวก.สธ. ที่สำเร็จการศึกษาหลักสูตรพยาบาลวิชาชีพ ไม่สามารถปรับตำแหน่งได้ 3. การขาดแคลนบุคลากร 1. ท่านผู้ตรวจราชการและผู้ช่วยผู้ตรวจราชการได้ประสานกับ วพ.พระจอมเกล้า จัดอบรมหลักสูตรพยาบาลเวชปฎิบัติ จำนวน 2 รุ่น 2. เสนอส่วนกลางผลักดันให้บุคลากรได้ปรับตำแหน่งตามวุฒิที่สำเร็จการศึกษา 3. จังหวัดวางแผนการสรรหาบุคลากร ส่วนกลางจัดสรรโควต้าเพิ่ม