แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์
พชท./พจบ./Fellow แพทย์ใช้ทุน 29 คน แพทย์ประจำบ้าน 15 คน แพทย์ใช้ทุน 29 คน แพทย์ประจำบ้าน 15 คน แพทย์ประจำบ้านสาขาต่อยอด 12 คน รวมทั้งหมด 56 คน
หอผู้ป่วยที่ให้การดูแล คลินิกอายุรกรรมทั่วไปและ คลินิกอายุรกรรมตามสาขา หอผู้ป่วยอายุรกรรมหญิง หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 1 หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 หออภิบาลผู้ป่วย (ICU) หอผู้ป่วย RCU ห้องฉุกเฉิน หอผู้ป่วยต่างแผนกต่างๆ
การบริหารภาควิชาฯ ประชุมภาค ทีมบริหาร กลุ่มวิจัย พชท./พจบ. หัวหน้าสาขา Undergrad Postgrad วันอังคารที่ 2 ของเดือน 15.00 -16.30 น. วันพฤหัสบดีที่ 1,3, ของเดือน 14.30-16.30น. วันพฤหัสบดีที่ 1,3,5ของเดือน 12.00-13.00 น. วันพฤหัสบดีที่ 1,3,ของเดือน 12.00-13.00น. กลุ่มวิจัย พชท./พจบ. หัวหน้าสาขา PCT/บริการ วันพฤหัสบดีที่ 4 ของเดือน 14.00-15.30น. วันพฤหัสบดีที่ 4 ของเดือน 15.00-16.30น. วันพฤหัสบดีที่ 2 ของเดือนคู่ 12.00-13.00น. วันศุกร์ที่ 1 ของเดือน 14.00-16.00น.
จุดเด่น มีความเข้มแข็งด้านการฝึกอบรมอายุรแพทย์ มีการดูแลแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านทุกระดับชั้นปีอย่างเป็นระบบ เช่น การจัดระบบอาจารย์ที่ปรึกษา การจัดระบบการวัดและประเมินผลการให้ความสำคัญกับการ Feedback จากแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน รวมทั้งมีการดูแลแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านที่มีปัญหา นอกจากนี้ยังเน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และการทำงานเป็นทีม ระหว่าง แพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้าน แพทย์ประจำบ้านต่อยอด/อาจารย์แพทย์ และบุคลากรสายสนับสนุน โดยการจัดโครงการกลุ่มสัมพันธ์และจริยธรรมสัญจร มีแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านที่มีคุณภาพ แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านสามารถสอบบอร์ดผ่าน 100%
จุดด้อย งานบริการมีมากกว่าจำนวนแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านในทุกชั้นปี ทำให้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านไม่มีเวลาหาความรู้ และอ่านหนังสือเพิ่มเติม จำนวนการอยู่เวรปฏิบัติงานนอกเวลา มีจำนวนผู้ป่วยเฉลี่ยต่อคนในปริมาณมาก ไม่มีความละเอียดในการดูแลผู้ป่วย ดูผู้ป่วยไม่ทัน นำไปสู่การลาออก 3. งานหนักมากที่คลินิกอายุรกรรมผู้ป่วยนอก กรณีเป็นผู้รับ consult ในวันนั้น ขาดการประชาสัมพันธ์ ชักชวน extern , แพทย์ใช้ทุนข้างนอก เพื่อมาสมัครแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านที่ภาควิชาฯ ทำให้ไม่ได้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้านตามศักยภาพ
ภารกิจด้านการเรียนการสอน
รายวิชาการสอนระดับหลังปริญญา หลักสูตรอายุรศาสตร์เพื่อวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาอายุรศาสตร์ หลักสูตรอายุรศาสตร์ต่อยอด รายวิชาต่างๆ ในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
การดำเนินงาน (หลังปริญญา) อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก่ พชท./พจบ. รายบุคคล ประชุมคณะกรรมการฝ่ายการศึกษาหลังปริญญาภาควิชา เดือนละ 2 ครั้ง พิจารณาข้อสอบ,จัดสอบเลื่อนชั้นปี ประชุม พชท./พจบ. เดือนละ 2 ครั้ง ติดตามการประเมินผลการปฏิบัติงาน พชท./พจบ. หมุนเวียน หอผู้ป่วย/หน่วยวิชา เดือนละ 1 ครั้ง ติดตามดูแล พชท./พจบ. ที่มีปัญหาและนำเสนอที่ประชุมระดับหลังปริญญาและที่ประชุมภาควิชา การกำกับดูแลและตรวจประเมินการเขียนเวชระเบียนผู้ป่วยในเดือนละ 2 ครั้ง ผู้ป่วยนอก ปีละ 2 ครั้ง
การดำเนินงาน (หลังปริญญา) จัดกิจกรรมการเรียนการสอน Academic lecture, emergency medicine , Intensive in internal medicine โดยอาจารย์ภาควิชา/ต่างภาควิชา/ต่างสถาบัน จัดกิจกรรม Morning report , interesting case, M&M ,Conf.หน่วยวิชา ,Ethic teaching ประเมินผลโดยการสอบ MCQ, short assay, long case เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานผ่านหน่วยวิชา จัดสอบ OSCE ปีละ 2 ครั้ง ซึ่งสอดคล้องกับการประเมินราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ฯ เป็นอนุกรรมการคุมสอบราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
ทำนุบำรุงศิลปวัฒธรรม กิจกรรมมุทิตาจิต กิจกรรมเลี้ยงสังสรรค์งานปีใหม่ รดน้ำดำหัวในวันสงกรานต์
ทำนุบำรุงศิลปวัฒธรรม กิจกรรมเลี้ยงต้อนรับ – ส่ง พชท./พจบ. กิจกรรมสัมพันธ์คณะแพทยศาสตร์ (กีฬาสี) กิจกรรมเลี้ยงอำลาอาจารย์ กิจกรรมทำบุญภาควิชาอายุรศาสตร์
สิ่งที่ต้องพัฒนา
ด้านวิจัย มีการจัดตั้งหน่วยสนับสนุนงานวิจัย เพื่อช่วยผลักดันงานวิจัยของ แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน ซึ่งมีหน้าที่หลักดังนี้ 1.1 กระตุ้นและให้ความช่วยเหลือในการตั้งคำถามวิจัย (research question) 1.2 ติดตามและช่วยแก้ไขโครงการวิจัย (proposal) 1.3 สนับสนุนด้านสถิติทั้งทางตรงและผ่านทางหน่วยระบาดวิทยา 1.4 สนับสนุนและติดตามการเขียน Manuscript 1.5 ติดตามและช่วยแก้ปัญหาในกระบวนการทำวิจัยทุกขั้นตอน
2. มีกิจกรรม Research Club เพื่อให้แพทย์ใช้ทุน/ประจำบ้าน ได้นำเสนอ proposal และ ผลงานวิจัยที่เสร็จสมบูรณ์ ตุลาคม – มกราคม เสนอ proposal มีนาคม – มิถุนายน เสนอผลงานวิจัย 3. มีแผนการปฏิบัติงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน เพื่อกำหนดกรอบเวลาในการทำงานวิจัย ทำให้แพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน ทำงานวิจัยได้สำเร็จตามกรอบเวลาที่ได้กำหนดไว้
4. มีการส่งเสริมให้มีการนำเสนอผลงานวิจัยในงานประชุมต่างๆ เมษายน เสนอผลงานในรูปแบบ Oral presentation หรือ Poster Presentation ในงานประชุมวิชาการราชวิทยาลัยอายุรแพทย์ แห่งประเทศไทย ทุกผลงาน สิงหาคม เสนอผลงานในรูปแบบ Oral presentation หรือ Poster Presentation ในงานประชุมวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ ทุกผลงาน 2
ด้านการเรียนการสอน จัดให้มีการบริหารจัดการฝึกอบรมให้เป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ 1.1 จัดให้มีกรรมการ Postgrad 1.2 มีคู่มือ ตารางการเรียนการสอน เป็นไปตามข้อกำหนด ราชวิทยาลัยฯ 1.3 จัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาสำหรับแพทย์แต่ละคน 1.4 จัดกิจกรรม M&M, Interesting case, Dead case, Ethic 1.5 จัดสอน Intensive course พชท./พจบ.ใหม่ เพื่อปรับ พื้นฐาน พฤษภาคม - สิงหาคม ของทุกปี
ด้านการเรียนการสอน 1.6 มีกิจกรรม Academic Lecture เชิญอาจารย์ จากภายในและภายนอกภาควิชาบรรยายให้ความรู้ และ เพื่อจัดติวก่อนสอบบอร์ดราชวิทยาลัยฯ 1.7 จัดติวเรื่องการใช้กล้องจุลทรรศน์, Lab จัดสอบ Long case เพิ่มเติม ก่อนสอบบอร์ดราชวิทยาลัยฯ 1.8 ประเมินผลโดยการสอบ MCQ, short assay,Long case เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานผ่านสาขาวิชา 1.9 สนับสนุนและส่งเสริมให้มี Elective ในต่างประเทศ เพิ่มขึ้น
Thank You !