กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส กลุ่มที่ 15 กลุ่ม อ่าวสวยทะเลใส จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระนอง นราธิวาส ชุมพร
จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระนอง นราธิวาส และชุมพร สมาชิกกลุ่ม 15 อ่าวสวยทะเลใส จังหวัด สุราษฎร์ธานี ระนอง นราธิวาส และชุมพร
รายชื่อสามชิกกลุ่ม 15 จังหวัดชุมพร จังหวัดระนอง จังหวัดนราธิวาส นางสาวพิมล ชะนะ นายธีระวัฒน์ พุทธางกุล นางสาวเกษณี บุญพัตร จังหวัดระนอง นายกรีฑา ทิพย์จันทร์ นางพรทิพย์ พรหมมาตร์ นางสาวพัชรี ภู่มาลี นายอาณัติ ประธาน นางสาวสุรีพร ม่วงหีต นางสาวสุภารัตน์ สาคร นางกนกวรรณ รอดศรีนาค จังหวัดนราธิวาส นางสาวสุกัญญา หน่อจันทร์หอม นางสาวฐิตินันท์ เนื้อน้อย นายอุสมาน มูนะ นางสาวอรวรรณ พันผิว นายอำราญ ดือราแม นายสูรียา ยูโซ๊ะ นายอับดะห์ มามะ จังหวัดสุราษฏร์ธานี นายภาสกร ขาวหนู นายประเสริฐ พืชผล นางสาวกาญจนา สมตา นางสาวจารุวรรณ บุญแก้ว นางสาวสุนิษา นวลมะโน นายศิริชัย อิ่มดำ นางสาวสาวิตรี สุวรรณ์
กลุ่มอ่าวสวยทะเลใส นายภาสกร ขาวหนู นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร นายภาสกร ขาวหนู นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเกษตรตำบลพะแสง อำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฏร์ธานี ผู้นำเสนอ จิรภัทร ชูศิลป์ทอง อาจารย์ที่ปรึกษา บุษยมาศ นิลน้อย ผู้ช่วยอาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการประชาสัมพันธ์ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ผลสัมฤทธิ์ 1.1. เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น 1.2. เกษตรกรมีความเชื่อมั่นต่อศูนย์และเจ้าหน้าที่
2.ผลลัพธ์ 2.1. ร้อยละ 80 เกษตรกรนำความรู้ที่ได้จากศูนย์ไปปฏิบัติและเผยแพร่ได้ 2.2. ร้อยละ 80 เกษตรกรให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆของศูนย์ 2.3. ร้อยละ 80 เกษตรกรมีทักษะในการประกอบอาชีพ 2.4. ร้อยละ 80 ความถี่ของเกษตรกรที่มาใช้บริการมากขึ้น
3.ผลผลิต เกษตรกรได้รับความรู้เกี่ยวกับบทบาท ภารกิจของศูนย์บริการฯเพิ่มขึ้น
4. กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 4.1 กำหนดขั้นตอน ประชุมชี้แจงคณะกรรมการศูนย์ วางแผนการดำเนินงาน ปฏิบัติตามแผน ประเมินผล ต่อ
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 4.2. การมีส่วนร่วมของเกษตรกร เวทีชาวบ้าน ประชุมหมู่บ้าน ร.ร.เกษตรกร เกษตรกรอาสา ต่อ
กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 4.3. วิธีการนำไปสู่การปฏิบัติ จัดทำเอกสารเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หมู่บ้าน วิทยุชุมชน สื่อโฆษณา (สปอร์ตโฆษณา) ป้ายโฆษณา
5.ปัจจัยที่เอื้อต่อการทำงาน 5.1กลยุทธ์หน่วยงานรุกไปข้างหน้า (so) 5.2. การเมือง อบต. ผู้นำท้องถิ่น, CEO,อบจ. ,เทศบาล 5.3. สังคมการเกษตร สถาบันเกษตรกร , เวทีชุมชน 5.4. เศรษฐกิจ เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น แก้ไขปัญหาความยากจน 5.5. เทคโนโลยี เครื่องมืออุปกรณ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานอื่น 6.ปัจจัยนำเข้า 6.1 คน เกษตรกร คณะกรรมการศูนย์ ผู้นำนำท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานอื่น ต่อ
6.ปัจจัยนำเข้า 6.2. เทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร วิทยุชุมชน หอกระจายข่าว เอกสารเผยแพร่ อินเตอร์เน็ตตำบล
6.ปัจจัยนำเข้า 6.3. วัตถุดิบ - ที่ทำการศูนย์ 6.4. เงิน งบประมาณ งบดำเนินการ รวม 21,500 บาท ระยะเวลา เดือนมีนาคม – เดือนกันยายน 2549
ขอบคุณครับ