สมาชิกกลุ่ม จุฑาภรน์ อารียะ 562131001 นิสายชล ศิริวาท 562131002 จุฑาภรน์ อารียะ 562131001 นิสายชล ศิริวาท 562131002 นงค์ลักษณ์ เจริญไชย 562132040 สันติพงษ์ นาจรัส 562132012
5 force model
1.คู่แข่งรายใหม่ การแข่งขันจะไม่รุนแรงมากนัก คู่แข่งรายใหม่จากแบรนประเทศญี่ปุ่นนั้นมีน้อยราย มีต้นทุนคงที่ของธุรกิจ และต้นทุนในการเก็บรักษา
2.สินค้าทดแทน 1. สินค้าส่วนใหญ่ของไดโซะส่วนใหญ่เป็น อุปกรณ์ เครื่องใช้ ทั่วไป และสินค้าที่เป็นแนวความคิดสร้างสรรค์ที่นำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น 2. สินค้าที่สามารถทดแทนได้บางชนิดส่วนใหญ่จะมีในร้านกิ๊ฟช็อป 3. ระดับราคาสินค้าทดแทนและคุณสมบัติใช้งานของสินค้าทดแทน
3.อำนาจต่อรองของผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ผู้ผลิตสามารถคำนวณราคาวัตถุของสินค้าและเลือกที่จะใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพให้คุ้มกับราคาที่ผลิตสินค้าได้ สินค้าบางอย่างหาซื้อตามร้านอื่นๆไม่ได้ ตัวอย่างเช่น สินค้าที่เกิดจากการครีเอตผลงานของประเทศญี่ปุ่น เช่นที่ ปลอกมะม่วง สเปรย์ฉีด เลม่อน เป็นต้น มีผู้ขายน้อยราย จึงทำให้อำนาจต่อรองของผู้ขายสูง
4.อำนาจต่อรองของลูกค้า ปัจจัยอำนาจการต่อรองของลูกค้ามีค่อนข้างสูงเพราะเนื่องจากราคาสินค้ามีราคาเดียวคือ 60 บาท และของบางชนิดอาจจะทำให้ผู้ซื้อคิดว่าราคาไม่เหมาะสมกับสินค้า 5.การแข่งขันในอุตสาหกรรมเดียวกัน มีทั้งระดับที่ต่ำกว่า และ สูงกว่า แต่ Daiso ก็จะมีการจัดโปรโมชั่นเป็นช่วงๆไป ยกตัวอย่างเช่น ฉลองเปิดสาขาใหม่ทางร้านได้จัดโปรโมชั่น ซื้อ 10 ชิ้น แถม ฟรี 1 ชิ้น หรือมีการกระตุ้นยอดขาย โดยการซื้อสินค้าครบ 600 บาท ได้คูปองชิง I-Pad เป็นต้น
การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่ (Threat of new Entrants) Which one that you prefer ขนาดของธุรกิจ (Economic of scale) Small มีสาขาน้อย ความแตกต่างของสินค้า (Product differentiation) Very different ไม่มีขายในไทย ความภักดีต่อตราสินค้า (Brand royalty) Low เพราะของไม่จำเป็น ต้นทุนการเปลี่ยนแปลง (Switching costs) High ต้องเพิ่มโปรโมชั่นใหม่ๆ ความจำเป็นด้านต้นทุน (Capital requirements) เพราะลงทุนน้อย การเข้าถึงการกระจายสินค้า (Access to distribution) Strong สินค้ามีเอกลักษณ์/ สาขาน้อย วงจรชีวิตของอุตสาหกรรม (Industry life cycle) Long ของไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงมาก ความต้องการเรียนรู้ (Learning curve advantages ) สินค้าแปลกใหม่ การคาดการณ์การตอบโต้จากฝ่ายตรงกันข้าม (Expected retaliation) คู่แข่งน้อย นโยบายของรัฐ (Government policies) Free อิสระในการขาย การทำกำไรในอุตสาหกรรม (Industry profitability) สินค้าชิ้นนึงได้กำไรน้อย
อำนาจการต่อรองของผู้บริโภค (Bargaining Power of Customers) Which one that you prefer การกระจุกตัวของผู้ซื้อ/ของผู้ขาย (Buyer concentration to firm concentration ratio) Small ผู้ซื้อแต่ละคนซื้อน้อย และไม่ได้มาเป็นกลุ่มใหญ่ จำนวนการซื้อ (Volume of buying) Low สินค้าซื้อแยกชิ้น ไม่นิยมขายเป็นโหล ความภักดีต่อตราสินค้า (Brand royalty) สินค้าบางชิ้นที่อื่นก็มีขาย ต้นทุนการเปลี่ยนแปลง (Switching costs) High สินค้าบางชิ้นไม่มีความจำเป็น ผู้ซื้อมีข้อมูล (Buyer information availability) สินค้าไม่คุ้นชินในท้องถิ่น/ ข้อมูลสินค้าน้อย การเข้าไปเป็นเจ้าของในห้วงโซ่อุตสาหกรรม (Backward integrate) Weak ไม่มีของชิ้นใดในท้องถิ่นนำมาขาย/ Daiso ไม่มีเป็นเจ้าของสินค้า ผู้ซื้ออ่อนไหวต่อราคา (Buyer price sensitivity) ราคาถูกผู้ซื้อจึงมีความสนใจ มีตัวเลือก (Choice of selection) คู่แข่งน้อย
อำนาจการต่อรองของผู้ผลิตวัตถุดิบ (Bargaining Power of Suppliers) Which one that you prefer จำนวนผู้ผลิตวัตถุดิบ (Number of suppliers) Small สินค้ารวมจากที่เดียวในญี่ปุ่น การรวมตัวกันของผู้จัดส่ง (Suppliers integration) High มีหลายคู่ค้ารวมตัวกันขาย ในราคาที่ถูก ผู้ผลิตวัตถุดิบสร้างความแตกต่าง (Degree of differentiation of inputs) Different สินค้ามีเอกลักษณ์ ต้นทุนการเปลี่ยนแปลง (Switching costs) Low น้อย ผู้ผลิตมีน้อย วัตถุดิบที่มีของทดแทนได้หรือไม่ (Substitute inputs) การเข้าไปเป็นผู้ผลิตสินค้าปลายทาง (Forward Integration) Weak น้อย ไม่มีของชิ้นไหนที่เป็นของ เฉพาะ DAISO ต้นทุนวัตถุดิบเมื่อเทียบกับราคาขาย (Cost of inputs relative to selling price of the product ) ของแต่ละชิ้นได้กำไรน้อย จำนวนและปริมาณที่ต้องการจากผู้จัดส่ง (Volume to supplier ) สินค้าจำนวนมาก รวมกันในราคาที่ถูก
การมีสินค้าและบริการอื่นทดแทน (Threat of Substitute products) Which one that you prefer ต้นทุนในการเปลี่ยนไปใช้สินค้าทดแทน (Switching cost) Small สินค้ามีเอกลักษณ์ ระดับราคาสินค้าทดแทน (Relative Price of substitute products) Low สินค้าไม่มีความจำเป็น คุณภาพสินค้าทดแทน (Relative quality of substitute) Non สินค้าบางชิ้นไม่มีขายในท้องถิ่น
สภาพการณ์ของการแข่งขันของอุตสาหกรรม (Rivalry among exist firms) Which one that you prefer จำนวนคู่แข่งขัน (Number of competitors) Small คู่แข่งมีน้อย การเติบโตของอุตสาหกรรม (Industry growth rate) Very การผลิตส่วนเกิน (Product differentiation) Low ไม่นิยมผลิตทีละจำนวนมาก/ สินค้ามีการเปลี่ยนแปลงตลอด การมีอุปสรรคในการออกจากอุตสาหกรรม (Barriers to exit) ออกได้ง่าย เพราะลงทุนในการเปิดกิจการไม่มาก ขนาดของคู่แข่งในอุตสาหกรรม (Relative size of competitors) มีน้อย เพราะเป็นสินค้านำเข้า การคาดการณ์การตอบโต้จากผู้นำตลาด (Expected retaliation from the market leader) คู่แข่งน้อย