ความก้าวหน้าของบุคลากรสายสนับสนุนในสถาบันอุดมศึกษา เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน 9 ผู้เชี่ยวชาญระดับ 9มหาวิทยาลัยขอนแก่น * ที่ปรึกษา อธิการบดี มรภ.ราชนครินทร์ มรภ.บุรีรัมย์ มรภ.กำแพงเพชร ที่ปรึกษารองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มรภ.ยะลา
สถานภาพของบุคลากรสายสนับสนุน ในสถาบันอุดมศึกษา/มหาวิทยาลัย บุคลากรสายสนับสนุน ในถาบันอุดมศึกษา/มหาวิทยาลัย ปัจจุบันอยู่ใน 2 สถานภาพคือ 1. เป็นข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดม ศึกษา 2. เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย
การบริหารงานบุคคล ในมหาวิทยาลัย การบริหารงานบุคคลในมหาวิทยาลัย อยู่ภายใต้องค์กรที่ทำหน้าที่ในการบริหารงานบุคคล 2 ระดับ คือ
ระดับองค์กรกลางบริหารงานบุคคล - คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา(ก.พ.อ.) ระดับมหาวิทยาลัย/สถาบัน - สภาสถาบันอุดมศึกษา
โครงสร้าง ระดับ ตำแหน่ง ข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ก.พ.อ. ได้กำหนดโครงสร้างตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาตามพ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 และแก้ไข 2550 * มาตรา 18 (ข) (7) และ (8) ได้กำหนดโครงสร้างตำแหน่งสายสนับสนุน เป็นดังนี้ * หนังสือด่วนที่สุดของ สกอ. ที่ศธ 0509.4/ว 1 ลงวันที่ 29 มค.2550 เรื่อง การกำหนดโครงสร้างตำแหน่ง ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา..
ตามหนังสือดังกล่าว โดยสรุปกำหนดให้ ขรก ตามหนังสือดังกล่าว โดยสรุปกำหนดให้ ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา มี 71 สายงาน 72 ตำแหน่ง คือ 1. ตำแหน่งประเภททั่วไป จำนวน 32 สายงาน 32 ตำแหน่ง 2. ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ จำนวน 15 สายงาน 15 ตำแหน่ง 3. ตำแหน่งเชี่ยวชาญเฉพาะ * จำนวน 24 สายงาน 25 ตำแหน่ง * สายงานวิจัย มีสองตำแหน่งคือ เจ้าหน้าที่วิจัย และ นักวิจัย
ตำแหน่งปฏิบัติการ ۞ ปฏิบัติการระดับต้น (วุฒิต่ำกว่า ป.ตรี) ۞ ปฏิบัติการระดับต้น (วุฒิต่ำกว่า ป.ตรี) - วุฒิ ปวช. กำหนดเป็นระดับควบ 1-3 ผู้มีประสบการณ์ระดับ 4,5 - วุฒิ ปวส. กำหนดเป็นระดับควบ 2-4 ผู้มีประสบการณ์ระดับ 5,6 ۞ ปฏิบัติการระดับกลาง (วุฒิ ป.ตรี/สูงกว่า) - ป.ตรี กำหนดเป็นระดับควบ 3-6 - ป.โท กำหนดเป็นระดับควบ 4-7
ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ตำแหน่งชำนาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ ۞ ตำแหน่งชำนาญการ กำหนดระดับตำแหน่ง เป็น... - ชำนาญการ ระดับ 6 - ชำนาญการ ระดับ 7-8 ۞ ตำแหน่งเชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ กำหนดระดับตำแหน่งเป็น - เชี่ยวชาญ ระดับ 9 - เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10
ตำแหน่งผู้บริหาร ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานภายในกอง/ สำนักงานเลขานุการคณะ ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานภายในกอง/ สำนักงานเลขานุการคณะ - กำหนดเป็นระดับ 7 ตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงานภายในศูนย์/ สถาบัน /สำนัก - กำหนดเป็นระดับ 7 , 8 ตามหน้าที่รับผิดชอบ ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ความยุ่งยากซับซ้อนของงาน
ตำแหน่งผู้อำนวยการกอง /เลขานุการคณะ - ผู้อำนวยการกอง กำหนดเป็นระดับ 7-8 - เลขานุการคณะ ขอบข่ายงานมีความ ยุ่งยากซับซ้อนพอสมควร กำหนดเป็น ระดับ 7 - เลขานุการคณะ ขอบข่ายงานมีความ ยุ่งยากซับซ้อนมาก กำหนดเป็นระดับ 8
ตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/ สำนักงานวิทยาเขต ตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานอธิการบดี/ สำนักงานวิทยาเขต - กำหนดเป็นระดับ 8 (ยุ่งยากซับซ้อนพอสมควร) - กำหนดเป็นระดับ 9 (ยุ่งยากซับซ้อนมาก) ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีลักษณะพิเศษ หน่วยงานที่มีลักษณะพิเศษในมหาวิทยาลัย เช่น โรงพยาบาล - กำหนดเป็นระดับ 7,8 (มิได้ใช้วิชาชีพ) - กำหนดเป็นระดับ 8,9 (ใช้วิชาชีพ)
ความก้าวหน้าของบุคลากร สายสนับสนุน เข้าสู่ตำแหน่งตามโครงสร้าง เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เปลี่ยนตำแหน่ง เลื่อนตำแหน่ง หัวหน้าหน่วย หัวหน้า งาน/ฝ่าย , ผอ. ,เลขา นุการคณะ/หน่วยงาน ชำนาญการ 6 ชำนาญการ 7-8 เชี่ยวชาญ 9 เชี่ยวชาญพิเศษ 10
การจะเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นต้องเป็นไปตามประกาศ ก. พ. อ การจะเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นต้องเป็นไปตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการกำหนดระดับตำแหน่ง และการแต่งตั้ง ขรก. พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น ประกาศเมื่อวันที่ 2 กพ.2550 และสภาแต่ละสถาบันอุดมศึกษา ต้องออกเป็นข้อบังคับว่าด้วยการกำหนดระดับตำแหน่ง และการแต่งตั้ง ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้นก่อน จึงจะก้าวหน้าเข้าสู่ตำแหน่งระดับสูงขึ้นได้
ตามหลักการแล้ว สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งต้องปรับตำแหน่ง ขรก ตามหลักการแล้ว สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่งต้องปรับตำแหน่ง ขรก. เข้าสู่การกำหนดโครงสร้างตำแหน่งใหม่ ตามหนังสือที่ ศธ 0509.4/ ว.3 ลงวันที่ 29 มค.2550 ก่อนเป็นลำดับแรก ขั้นตอนต่อไปจึงดำเนินการส่งเสริมผู้ที่มีความรู้ความสารถและมีประสบการณ์ ก้าวหน้าเข้าสู่ตำแหน่งระดับที่สูงขึ้นต่อไป
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น ความก้าวหน้าในการเข้าสู่ตำแหน่งทีสูงขึ้น ของสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยมีวิธีการเข้า สู่ตำแหน่งได้ 4 วิธีคือ 1. ระดับควบ 2. ประสบการณ์ 3. โครงสร้าง/บริหาร 4. ชำนาญการ/เชี่ยวชาญ
การเข้าสู่ตำแหน่งโดยระดับควบ สายสนับสนุนทุกตำแหน่งในมหาวิทยาลัยมีความก้าวหน้าของตำแหน่งโดยใช้ “ระดับควบ” ตามวุฒิที่ใช้บรรจุ ดังนี้ สาย 1 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวช. มีระดับควบจากระดับ 1 ถึงระดับ 3 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 1 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 3
สาย 2 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวส สาย 2 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวส. มีระดับควบจาก ระดับ 2 ถึงระดับ 4 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 2 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 4 สาย 3 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ป.ตรี มีระดับควบจาก ระดับ 3 ถึงระดับ 6 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 3 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 6 สาย 4 ที่บรรจุด้วยวุฒิ ป.โท มีระดับควบจาก ระดับ 4 ถึงระดับ 7 โดยเริ่มต้นการบรรจุจากระดับ 4 จะมีความก้าวหน้าสูงสุดถึงระดับ 7
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น โดยใช้ประสบการณ์ สายสนับสนุนปฏิบัติการระดับต้น สามารถเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น ที่สูงกว่าระดับควบ โดยใช้ “ประสบการณ์” ซึ่งต้องมีการประเมินผลงาน คุณลักษณะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง และผลงานที่ประเมินเป็นให้ไปตามองค์ประกอบที่ ก.พ.อ. กำหนด
สาย 1 - วุฒิ ปวช. กำหนดเป็นระดับควบ 1-3 ผู้มีประสบการณ์ ระดับ 4 , 5 สาย 2 - วุฒิ ปวส. กำหนดเป็นระดับควบ 2-4 ผู้มีประสบการณ์ ระดับ 5 , 6
การเข้าสู่ตำแหน่งตามโครงสร้าง 1. ระดับปฏิบัติการ การเปลี่ยนตำแหน่งจากผู้ปฏิบัติการ ระดับต้น เป็น ระดับกลาง เป็นการเปลี่ยนตำแหน่งจากตำแหน่งที่บรรจุด้วยวุฒิ ปวช. (สาย 1) หรือ ปวส.(สาย 2) เป็นตำแหน่งที่บรรจุด้วยวุฒิปริญญาตรี(สาย 3)
การเปลี่ยนตำแหน่งเช่นนี้ พิจารณาจาก... - ลักษณะงานของหน่วยงานนั้นจะต้องมีตำแหน่ง ดังกล่าว - คุณวุฒิของผู้ที่จะขอเปลี่ยนตำแหน่งตรงกับ ตำแหน่งใหม่ - สภามหาวิทยาลัย หรือ กรรมการบริหารงาน บุคคล เป็นผู้พิจารณา
การเลื่อนตำแหน่งจากผู้ปฏิบัติการ ระดับต้น เป็น ระดับกลาง การเลื่อนตำแหน่งจากผู้ปฏิบัติการ ระดับต้น เป็น ระดับกลาง เป็นการเลื่อนตำแหน่งจากตำแหน่งปฏิบัติการจากระดับต้น เป็นระดับกลาง พิจารณาจาก.... - ใช้วิธีการประเมิน - ประเมินผลงาน/คุณลักษณะของบุคคล - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล
2. ตำแหน่งผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มงานภายในกอง สำนักงานเลขานุการคณะ ระดับ 7 - ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา
หัวหน้ากลุ่มงานภายในศูนย์ สถาบัน/สำนัก ระดับ 7 , 8 - ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - ผ่านการอบรมหลักสูตรของผู้บริหาร สกอ. หรือ เทียบเท่า - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา
ผู้อำนวยการกอง ระดับ 7 – 8 เลขานุการคณะ ระดับ 7 , 8 - ประเมินตามแบบประเมิน - ประเมินสมรรถนะการเป็นผู้บริหาร - ประเมินโดยองค์คณะบุคคล - ผ่านการอบรมหลักสูตรของผู้บริหาร สกอ. หรือ เทียบเท่า - สภามหาวิทยาลัย/คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล เป็นผู้พิจารณา
หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต ระดับ 8 , 9 ۞ หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ระดับ 8 - มีลักษณะงานที่หลากหลาย - มีความยุ่งยากซับซ้อนในการบริหารงาน ۞ หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ระดับ 9 - มีลักษณะงานที่หลากหลาย - มีความยุ่งยากซับซ้อนในการบริหารงาน - มีสภาพที่หลากหลายและซับซ้อน
۞ หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต ระดับ 8 - การบริหารงานไม่เบ็ดเสร็จที่วิทยาเขต ۞ หัวหน้าสำนักงานวิทยาเขต ระดับ 9 - การบริหารงานส่วนใหญ่เบ็ดเสร็จที่วิทยาเขต
เมื่อประเมินค่างานกำหนดให้เป็นระดับต่าง ๆ แล้ว การเข้าสู่ตำแหน่งเป็นระดับสูงขึ้นต้องประเมินผลงาน และประเมินคุณลักษณะของบุคคลที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง ทั้งนี้ประเด็นสำคัญที่สุดคือต้องดูที่คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง แต่ละระดับในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเป็นหลัก ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ก่อน กรณีของตำแหน่งประเภทผู้บริหารต้องผ่านการอบรมหลักสูตรนักบริหารที่ ก.พ.อ. รับรอง
การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เป็นผู้ชำนาญการ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ สามารถเข้าสู่ตำแหน่ง ได้ 2 วิธีคือ วิธีปกติ - มีคุณสมบัติครบตามเกณฑ์ที่กำหนด
วิธีพิเศษ - มีคุณสมบัติไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด เช่น ระยะเวลาไม่ครบ - ข้ามตำแหน่ง เช่น จากระดับปฏิบัติการแล้ว ขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้เชี่ยวชาญ โดย ไม่ได้เป็นผู้ชำนาญการมาก่อน
หลักเกณฑ์ และวิธีการเข้าสู่ตำแหน่ง ชำนาญการ 6 , 7-8 เชี่ยวชาญ 9 ชำนาญการ 6 , 7-8 เชี่ยวชาญ 9 และ เชี่ยวชาญพิเศษ 10 1. ภารกิจหลักของหน่วยงาน 1.1 หน่วยงานที่ทำหน้าที่สนับสนุน และอำนวยการ - กอง/สำนักงานเลขานุการ ศูนย์/สถาบัน/สำนัก กำหนดตำแหน่งชำนาญการระดับ 6 ,7-8 - สำนักงานอธิการบดี กำหนดตำแหน่ง เชี่ยวชาญ ระดับ 9
1.2 หน่วยงานที่ปฏิบัติการเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์สำคัญของ มหาวิทยาลัย - ฝ่าย/กลุ่มงาน ในศูนย์/สถาบัน/สำนัก กำหนดตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 , 7-8 - ศูนย์/สถาบัน/สำนัก กำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 เชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10
2.1 ตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 ระดับ 7-8 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ และลักษณะของตำแหน่ง ดังนี้ 2.1 ตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 ระดับ 7-8 - ลักษณะงานจำเป็นต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ความสามารถ ทักษะเฉพาะทาง
- ทำการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือวิจัย - ประยุกต์หลักการเหตุผล แนวคิดวิธีการเพื่อการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่กำหนด - พัฒนางานในหน้าที่และงานเฉพาะทาง หรือ แก้ไขปัญหาในงานหลักที่ปฏิบัติซึ่งมีความยุ่งยากและมีขอบเขตกว้างขวาง
2.2 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 2.2 ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 - ต้องปฏิบัติโดยผู้มีความรู้ทฤษฎี หลักวิชา หรือหลักการเกี่ยวกับงานเฉพาะด้าน - เป็นงานเชิงพัฒนาระบบ หรือมาตรฐานของงาน หรืองานพัฒนาทฤษฎี หลักการ ความรู้ใหม่ - ต้องมีการวิจัยเกี่ยวกับงานเฉพาะด้าน หรือเฉพาะทาง และนำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ
- ประยุกต์ทฤษฎี แนวคิดใหม่เกี่ยวกับเนื้อหาของงาน เพื่อแก้ไขปัญหาในงานที่มีความยุ่งยากมาก - ถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับงาน ตลอดจนให้คำปรึกษา แนะนำ หรือปรับปรุงผสมผสานเทคนิคระดับสูงระหว่างสาขาที่เกี่ยวข้อง
2.3 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 2.3 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 - ปฏิบัติหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบ หรือมาตรฐานในการปฏิบัติงาน หรือแก้ไขปัญหาที่มีความสำคัญ - เป็นที่ปรึกษาในโครงการที่สำคัญ ให้บริการและเผยแพร่วิชาการระดับชาติ
คุณสมบัติในการเข้าสู่ตำแหน่ง ทางวิชาการของสายสนับสนุน ตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 6 ,7-8 ต้องมีคุณวุฒิ และ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ดังนี้... - ปวช. เทียบเท่า 16 ปี - ปวส. เทียบเท่า 12 ปี - ปริญญาตรี เทียบเท่า 9 ปี - ปริญญาโท เทียบเท่า 5 ปี - ปริญญาเอก เทียบเท่า 2 ปี
สูตรในการคำนวณเวลา ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 - ไม่มีวุฒิใดให้ตัดออก ถ้าเป็นวัน หรือ เป็นเดือน ต้องเปลี่ยนให้เป็นปี ที่เป็นตัวหาร ผลการคำนวณถ้าได้มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ถือ ว่ามีคุณสมบัติของเวลาครบ
กรณีได้รับวุฒิเพิ่มขึ้นและได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่ใช้วุฒิดังกล่าวเป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ให้นับระยะเวลาดำรงตำแหน่งทั้งสองตำแหน่งรวมกันตามอัตราส่วนได้ โดยตำแหน่งที่ดำรงอยู่เดิมต้องเป็นตำแหน่งที่ได้มีการกำหนดความจำเป็นของหน่วยงานให้มีตำแหน่งระดับชำนาญการไว้แล้ว
ตัวอย่างที่ 1 วิธีคำนวณ นาย ก. ตำแหน่ง น.การเงินฯ ระดับ 6 ปฏิบัติงานในตำแหน่งเป็นเวลา 5 ปี ต่อมาศึกษาต่อจนสำเร็จ ป.โทและปฏิบัติหน้าที่หลังมีวุฒิ ป.โท อีก 3 ปี นาย ก. มีคุณสมบัติเรื่องเวลาหรือไม่ ? วิธีคำนวณ ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2
ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 แทนค่า 0 + 0 + 5 + 3 + 0 = 1 16 12 9 5 2 5 0 + 0 + 0.56 + 0.60 + 0 = 1 5 1.16 1 ดังนั้น นาย ก. มีคุณสมบัติเวลา
ตัวอย่างที่ 2 วิธีคำนวณ นาย ข. ตำแหน่ง น.วิทยาศาสตร์ ระดับ 6 ปฏิบัติ งานในตำแหน่งเป็นเวลา 3 ปี ต่อมาศึกษาต่อจนสำเร็จ ป.โทและปฏิบัติหน้าที่หลังมีวุฒิ ป.โท อีก 3 ปี 2 เดือน นาย ข. มีคุณสมบัติเรื่องเวลาหรือไม่ ? วิธีคำนวณ ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2
ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 ปวช. + ปวส. + ป.ตรี + ป.โท + ป.เอก = 1 16 12 9 5 2 แทนค่า 0 + 0 + 3 + 38 + 0 = 1 16 12 9 60 2 5 0 + 0 + 0.33 + 0.63 + 0 = 1 5 0.96 1 นาย ข. ไม่มีคุณสมบัติเวลา
ตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ต้องมีวุฒิปริญญาตรี และ ดำรงตำแหน่งชำนาญการ ระดับ 8 หรือเทียบเท่ามาแล้ว 3 ปี ตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ต้องมีวุฒิปริญญาตรี และ ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 หรือเทียบเท่ามาแล้ว 2 ปี
การเทียบคุณสมบัติของข้าราชการ การเทียบคุณสมบัติของ ขรก. ที่ดำรงตำแหน่งเป็นผู้บริหาร ระดับ 8 (หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย ผู้อำนวยการกอง เลขานุการคณะ/หน่วยงาน)เพื่อใช้เป็นคุณสมบัติในการขอกำหนดตำแหน่งเป็นผู้เชี่ยว ชาญ ระดับ 9 เดิมเป็นอำนาจของ กม.(ชื่อเดิมในขณะนั้น)ต่อมา ได้มอบอำนาจมาที่ อกม. มหาวิทยาลัย ตามหนังสือ ทบวงฯ ที่ ทม 0202/ว 13 ลงวันที่ 28 ธค.2541
- การเทียบคุณสมบัติตามหนังสือเวียนนี้ เป็นการเทียบคุณสมบัติของข้าราชการเฉพาะตัว มิใช่การเทียบตำแหน่งที่ผู้นั้นครองอยู่ - ขรก.ทุกหน่วยงานมีสิทธิ์เสนอเรื่องให้ มหาวิท ยาลัย/สถาบัน เพื่อใช้ขอกำหนดตำแห่งเชี่ยวชาญ ระดับ 9 - ผู้เสนอขอเทียบต้องครองระดับ 8 และมีความรู้ความสารถ ตลอดจนประสบการณ์จากการดำรงตำแหน่งมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี
- ให้พิจารณาเทียบคุณสมบัติจากผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการในภาพรวมว่า เหมาะสมที่จะเทียบคุณสมบัติเป็นตำแหน่งชำนาญการหรือไม่ - โดยพิจารณาจาก ประเภท ของข่ายของงานที่รับผิดชอบ ปริมาณและคุณภาพของงานในภาพรวม - ผลงานที่แสดงความเป็นผู้ชำนาญการ เช่น คู่มือการปฏิบัติงาน ผลงานวิจัย ค้นคว้า การได้รับเชิญเป็นวิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้สอน ที่ปรึกษา คณะกรรมการต่างๆ
ผู้ที่ดำรงตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้าฝ่าย ผู้อำนวยการกอง หรือ เลขานุการคณะ/หน่วยงาน ระดับ 8 เมื่อใช้ผลงานเพื่อขอเทียบเป็นตำแหน่ง ชำนาญการ ระดับ 8 แล้วสามารถนำ... ผลงานที่ใช้ขอเทียบคุณสมบัติดังกล่าวไปเสนอขอกำหนดตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 ได้อีก * * หนังสือที่ ทม 0202/ว.13 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2541
กรณีที่มิได้ดำรงตำแหน่งเชี่ยวชาญ ระดับ9 ให้เทียบคุณสมบัติข้าราชการ(ที่เป็นระดับ 9) เพื่อใช้เป็นคุณสมบัติในการขอกำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับ 10 ได้ดังนี้ ● ต้องดำรงตำแหน่งระดับ 9 และมีคุณวุฒิ ปริญญาตรี หรือเทียบเท่า ● มีความรู้ ความสามารถ ตลอดจน ประสบการณ์จากการดำรงตำแหน่งที่ขอ เทียบคุณสมบัติมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ● ให้พิจารณาเทียบคุณสมบัติที่แสดงความ เป็นผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 9 ย้อนหลังได้ไม่ เกิน 2 ปี
ข้อห้ามของผลงานที่ใช้เสนอเทียบเป็นตำแหน่งชำนาญการ 8 และ เชี่ยวชาญ 9 ผลงานที่ใช้ขอเทียบต้องมิใช่เป็นส่วนหนึ่งของ การศึกษาและการฝึกอบรม 2. ผลงานที่ใช้ขอเทียบต้องไม่เคยใช้ประเมินแต่งตั้งระดับสูงขึ้นมาแล้ว
ก.พ.อ. กำหนดการประเมินการเข้าสู่ตำแหน่งระดับชำนาญการ ระดับเชี่ยวชาญ และ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ การประเมินต้องดำเนินการ โดยคณะบุคคล และมีระดับตำแหน่งไม่ต่ำกว่าตำแหน่งที่เสนอขอหรือเทียบเท่า และองค์คณะบุคคลต้องมีความรู้ความสามารถตรงกับวิชาชีพที่เสนอขอ และเป็นบุคคลภายนอกสถาบันอุดมศึกษานั้นทั้งหมด
ทั้งนี้การประเมินผลงานโดยองค์คณะบุคคล ตำแหน่งระดับเชี่ยวชาญ และระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ต้องจัดให้มีการประชุมพิจารณาร่วมกันเพื่อให้มีการรับฟังข้อคิดเห็นซึ่งกันและกัน เกณฑ์การตัดสิน ต้องได้คะแนนเสียงข้างมาก เว้นแต่โดยวิธีพิเศษ ต้องได้คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 4 ใน 5 ของกรรมการประเมิน
เงินประจำตำแหน่งและค่าตอบแทน ผู้บริหารสายสนับสนุน บาท/เดือน ตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทน 1) หัวหน้างาน/หัวหน้าฝ่าย ระดับ 8 - 3,500 2) ผู้อำนวยการการกอง ระดับ 8 5,600 3) เลขานุการคณะ/หน่วยงาน ระดับ 8 4) หัวหน้าสำนักงานอธิการบดี ระดับ 8 ระดับ 9 10,000
เงินประจำตำแหน่งและค่าตอบแทน ผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ บาท/เดือน ตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทน 1) ชำนาญการ ระดับ 6 - 2) ชำนาญการ ระดับ 7 3) ชำนาญการ ระดับ 8 3,500 4) เชี่ยวชาญ ระดับ 9 9,900 9,90 5) เชี่ยวชาญ ระดับ 10 13,000
เงินประจำตำแหน่งและค่าตอบแทน ผู้ดำรงตำแหน่งวิชาชีพ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยที่จะได้รับเงินประจำตำแหน่งประเภทวิชาชีพ (วช.) ตั้งแต่ระดับ 7 ขึ้นไป จำนวน 15 สายงาน บาท/เดือน ตำแหน่ง เงินประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทน 1) วิชาชีพ ระดับ 7 3,500 - 2) วิชาชีพ ระดับ 8 5,600 3) วิชาชีพ ระดับ 9 9,900
THE END ruajar@kku.ac.th Tel 089-617-7878