การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสมัครใช้บริการ SCB Easy Net
Advertisements

การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
หน้าที่ความรับผิดชอบ
สำหรับผู้กู้รายใหม่และผู้กู้ต่อเนื่อง(รายใหม่)
โดย ทีมผู้ดูแลระบบ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11/03/2551
งานระบบทะเบียนพัสดุ ปฏิบัติงานภายใต้ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม.
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย เงินรายได้ของมหาวิทยาลัย พ. ศ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
คำแนะนำ ขั้นตอนการกรอกแบบฟอร์มอิเลคทรอนิกส์ กรณีสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ
วิธีการยื่นเรื่อง ขอรับเงินคืน.
ข้อควรปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
กองทุนสวัสดิการ.
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
การปฏิบัติงานในระบบ e-pension สำหรับส่วนราชการผู้ขอ
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
วิธีการบันทึกรายการในระบบ GFMIS ผ่าน Web Online สำหรับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น.
การควบคุมการใช้ยานพาหนะและ การรายงานการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง
การรับและนำส่งเงินรายรับค่ารักษาพยาบาล
การขอ username password
หน่วยบริการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้บริการสาธารณสุข
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
แบบขอรับเงินจากกองทุน แบบแจ้งความประสงค์ให้กองทุนบริหารต่อ ฯ
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
กองทุนประกันสังคมคือ...
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
กลุ่มงบประมาณ ๑ งบบุคลากร งบเงินอุดหนุน เงินเดือน ค่าจ้างประจำ
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
ระบบทะเบียนสมรส และ ระบบทะเบียนการหย่า.
การใช้หลักฐานในการขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลในระบบเบิกจ่ายตรงที่ถูกเรียกเงินคืน ที่มา : หนังสือกรมบัญชีกลางที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว๓๖๔ ลว. ๖ ต.ค. ๒๕๕๔.
โครงการเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ สู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์
8. การใช้เงินสะสม.
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาล พ.ศ.2553 ประเภทผู้ป่วยใน
รายงานความคืบหน้า การพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหา การจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานของ บุคลากร กลุ่มประกันสุขภาพ.
Bupa active : Member log in. ในหน้าแรก ระบบจะแสดงแถบต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับข้อมูลของท่านโดยสามารถ เลือกตรวจสอบข้อมูลได้ตามต้องการ ทั้งนี้ ในตัวอย่างเราจะเลือก.
โปรแกรมโครงการให้บริการวัคซีนไข้หวัดใหญ่ (INFLUENZA) ปีงบประมาณ2552
โดย ส่วนวิชาการ สำนักงานคลังเขต 1 กรมบัญชีกลาง
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
คู่มือการใช้งานระบบงานภายใน ระบบงานการเงิน
การจัดทำเอกสารเบิกจ่ายเงินวิจัย
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
ขอบข่ายของระบบ รองรับระบบงานของ บริษัทประกันภัย รองรับระบบงานของ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE ระเบียบวาระ 3.3 สรุปการ.
เมนู...บันทึกการให้บริการหญิงหลังคลอด
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
งบกองทุนหลักประกันสุขภาพ
งานกิจการนิสิต
ปัญหาและข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินทดรองราชการ
ระบบงานสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สารบรรณโรงเรียน(รับ-ส่งหนังสือ)
กรณีตัวอย่างการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
Payroll.
การจัดทำหนังสือ รับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย ปี 2557
แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี 2555
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
ประชุมประจำเดือน กองวิชาการและแผนงาน
ข้อสังเกตจากการตรวจสอบ ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
Palliative Care e-Claim.
การดำเนินการเกี่ยวกับพนักงานราชการ
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
หลักเกณฑ์การรับ-จ่าย-การจัดทำบัญชี
ระบบการบันทึกข้อมูลและขอชดเชยการรักษาของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพส่วนตำบล กองทุนสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น.
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

Flow การสมัครเบิกจ่ายตรง

หน้าจอลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง (ส่วนที่ 1)

หน้าจอลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง (ส่วนที่ 2)

การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง ท่านสามารถไปลงทะเบียนจ่ายตรงที่โรงพยาบาลใกล้บ้าน หรือโรงพยาบาลที่ไปรักษาประจำ โดยสามารถใช้สิทธิ์ได้เลยในวันนั้น กรณีที่ไปเจ็บป่วยฉุกเฉิน หรือได้รับอุบัติเหตุ ท่านสามารถเข้ารับบริการโรงพยาบาลอื่นๆได้โดยไม่ต้องไปลงทะเบียนจ่ายตรงอีก ทางโรงพยาบาลจะออกเลข Claim Code เพื่อขอเบิกจ่ายตรงมาที่ สปสช.

การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง กรณีที่ต้องนอนโรงพยาบาล ถ้าท่านลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงแล้ว ไม่ต้องทำหนังสือส่งตัวอีก ทางโรงพยาบาลจะออกเลขขออนุมัติ แทนเลขที่หนังสือส่งตัว กรณีที่ท่านยังไม่ได้ไปลงทะเบียนสิทธิ์ อปท. ที่หน่วยงานต้นสังกัดของท่าน ให้ท่านทำหนังสือส่งตัวมาแทนการลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง

การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง ลงทะเบียนสิทธ์ที่ต้นสังกัดแล้ว ผู้มีสิทธิ์ร่วมสามารถไปลงทะเบียนจ่ายตรงได้โดยไม่ต้องรอ ผู้มีสิทธิ์ไปด้วยกัน ลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงของ อปท.กับข้าราชการ แตกต่างกันอย่างไร ลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงของ อปท. ลงทะเบียนแล้วใช้สิทธิได้เลย ส่วนของข้าราชการต้องรอผลการอนุมัติ 15 วัน ยกเว้นข้าราชการบำนาญลงทะเบียนเบิกจ่ายตรงแล้วใช้ได้เลยเช่นเดียวกับ อปท.

การเบิกระบบใบเสร็จรับเงิน กรณีผู้มีสิทธิสำรองเงินจ่าย ค่ารักษาพยาบาล ของพนักงานท้องถิ่น (กรณีผู้ป่วยนอก)

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้มีสิทธิสวัสดิการพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเข้ารับบริการยังสถานบริการของรัฐและสถานบริการเอกชนได้โดยต้องสำรองจ่ายค่ารักษาพยาบาลไปก่อน และรับใบเสร็จจากสถานบริการมาเพื่อส่งเบิกยังต้นสังกัดของผู้มีสิทธิ ต้นสังกัดของผู้มีสิทธิจะต้องดำเนินการส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์มายัง website พร้อมทั้งแนบไฟล์สแกน เอกสารใบเสร็จเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ ร.บ.๓ )

การดำเนินงานของต้นสังกัด แจ้งหมายเลขบัญชีเพื่อใช้ในการรับโอนเงินจาก สปสช. บัญชีของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร หรือ ธนาคารกรุงไทย เท่านั้น ชื่อบัญชีต้องเป็น “ชื่อขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” นั้น ๆ ต้องไม่ใช่บัญชีเดียวกับบัญชีของกองทุนตำบล

การดำเนินงานของต้นสังกัด 2. ผู้มีสิทธิมีการสำรองจ่ายเงินและได้รับใบเสร็จจากหน่วยบริการ ให้ผู้มีสิทธินำใบเสร็จดังกล่าวมาทำเรื่องแจ้งขอเบิกเงินค่ารักษาพยาบาลคืนในใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบร.บ.๓ ) โดยให้ผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ ลงนาม และแนบใบเสร็จรับเงิน

การดำเนินงานของต้นสังกัด 3. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้องของ - ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ ร.บ.๓ ) ที่ลงนามโดยผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ - ใบเสร็จรับเงิน

การดำเนินงานของต้นสังกัด 4. บันทึกข้อมูลในโปรแกรมที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ( สปสช. ) กำหนดผ่าน website สปสช. : www.nhso.go.th --> บริการออนไลน์ --> “งานทะเบียน”--->เลือกข้อ ๑๓ โปรแกรม ระบบทะเบียนบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และทำการ login เข้าโปรแกรม

การดำเนินงานของต้นสังกัด ต้นสังกัดของผู้มีสิทธิจะต้องดำเนินการส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์มายัง website พร้อมทั้งแนบไฟล์สแกน เอกสารใบเสร็จเบิกเงินค่ารักษาพยาบาล ใบเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล (แบบ ร.บ.๓ ) ลงนามโดยผู้บริหาร/ผู้มีอำนาจ

การดำเนินงานของต้นสังกัด 5. การบันทึกข้อมูลการเบิกในแต่ละครั้ง สามารถบันทึกข้อมูลการเบิกของผู้ป่วยรายเดียวกันที่ ใช้บริการใน ว/ด/ป เดียวกัน (ดูจากวันที่ในใบเสร็จรับเงิน) และใน สถานพยาบาลเดียวกันเท่านั้น โดยอาจจะมี ใบเสร็จมากกว่า ๑ ฉบับได้ เช่นเป็นใบเสร็จค่ารักษาพยาบาล ๑ ฉบับ และใบเสร็จค่าชันสูตร ๑ ฉบับ 1 ฎีกา : 1 คน : 1 วัน : 1 รพ.

การดำเนินงานของต้นสังกัด 1 ฎีกา : 1 คน : 1 วัน : 1 รพ. ตัวอย่าง รพ. นครพิงค์ วันที่ 1 ตค. 56 - ใบเสร็จค่ายา 1 ฎีกา - ใบเสร็จค่าเจาะเลือด วันที่ 7 ตค.56 - ใบเสร็จค่ายา 1 ฎีกา

การดำเนินงานของต้นสังกัด 6. เมื่อบันทึกข้อมูลรายละเอียดเรียบร้อย ครบถ้วน ถูกต้องแล้วให้ส่งข้อมูลไปที่ สปสช. ผ่านหน้า website ตามที่กำหนด ทั้งนี้สามารถส่งข้อมูลการเบิกจ่ายได้ทุกวัน 7. หน่วยงานต้นสังกัดสามารถตรวจสอบและดาวน์โหลดการแจ้งโอนเงินได้ในโปรแกรม ลงทะเบียนฯ เพื่อนำไปใช้เป็นหลักฐานในการเบิกจ่ายเงินของหน่วยงานต่อไป

การดำเนินงาน ของ สปสช.

การดำเนินงานของ สปสช. ตอบกลับการรับข้อมูลและตรวจสอบข้อมูลทาง website ภายใน ๑ วันทำการหลังจากได้รับ ข้อมูลพร้อมแจ้งสถานะของข้อมูลที่ได้รับว่าครบถ้วน ถูกต้อง รอพิจารณาตรวจสอบและจ่ายชดเชย หากข้อมูลไม่ครบถ้วน ถูกต้องจะแจ้งกลับเช่นเดียวกันเพื่อให้ต้น สังกัดจัดทำข้อมูลเพิ่มเติม 2. กำหนดตัดยอดบัญชีเดือนละ ๑ ครั้ง ทุกวันสิ้นเดือนของทุกเดือน หากส่งไม่ทันจะเป็นการ ส่งและตัดยอดออก Statement ในเดือนถัดไป โดยเป็นข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบจาก สปสช. แล้วเท่านั้น

การดำเนินงานของ สปสช. 3. สปสช.จะตรวจสอบข้อมูลตามข้อ ๒) เทียบกับเอกสารหลักฐานที่แนบมา ภายใน ๕ วันทำการ หากไม่ตรงกันหรือไม่ถูกต้อง สปสช. จะแจ้งกลับ โดยจะออกรายงานการจ่ายเงินชดเชยกรณีสำรองจ่าย และใช้ใบเสร็จ รายเดือน ตามข้อมูลในข้อ ๒) 4. สปสช.จะดำเนินการโอนเงินให้ต้นสังกัดภายใน ๑๕ วันทำการ นับจากการดำเนินการ ขั้นตอนที่ ๓) เรียบร้อยแล้ว ผ่านบัญชีที่ต้นสังกัดแจ้งรับโอนเงิน

การบันทึกข้อมูล เพื่อขอเบิกตามระบบใบเสร็จรับเงิน

เข้าใช้งานโปรแกรมระบบทะเบียนบุคคลากร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2. แจ้งขอเบิกเงินค่ารักษา

2. แจ้งขอเบิกเงินค่ารักษา

กดปุ่ม [แก้ไขข้อมูล] จะยังอยู่ที่หน้าเดิม ใช้ในกรณีที่กรอกข้อมูลผิด หรือต้องการแก้ไขข้อมูลใหม่อีกครั้ง กดปุ่ม [เพิ่มรายการใหม่] จะทำการล้างหน้าจอ เพื่อให้เจ้าหน้าที่คีย์ข้อมูลใบเสร็จ ถัดไป กดปุ่ม [กลับหน้าจอหลัก] จะทำการแสดงหน้าจอหลักโปรแกรม

3.การแก้ไขข้อมูลการขอเบิกเงินค่ารักษา

แสดงหน้าจอค้นหาข้อมูล ให้ทำการระบุเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา และกดปุ่มค้นหา

สถานะ สถานะส่งข้อมูลขอเบิก หมายถึง: สถานะการบันทึกแจ้งข้อมูลขอเบิกเงินค่ารักษา จากหน่วยงาน อปท. สถานะขอเอกสารเพิ่มเติม หมายถึง: สถานะที่ทางเจ้าหน้าที่ สปสช. แจ้งขอเอกสารเพิ่มเติม สถานะอนุมัติจ่าย หมายถึง: สถานะที่ทางเจ้าหน้าที่ สปสช. พิจารณาอนุมัติจ่ายเงิน สถานะไม่อนุมัติ หมายถึง: สถานะที่ทางเจ้าหน้าที่ สปสช. พิจารณาไม่อนุมัติจ่ายเงิน

คลิกที่รูปแก้ไข ในรายการขอเบิก คลิกที่รูปแก้ไข ในรายการขอเบิก

4.แสดงข้อมูลการขอเบิกเงินค่ารักษา

แสดงหน้าจอค้นหาข้อมูล ให้ทำการระบุเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา และกดปุ่มค้นหา

คลิกที่รูปแสดง ในรายการขอเบิก คลิกที่รูปแสดง ในรายการขอเบิก

5. การลบข้อมูลการขอเบิกเงินค่ารักษา

แสดงหน้าจอค้นหาข้อมูล ให้ทำการระบุเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา และกดปุ่มค้นหา

คลิกที่รูป ลบรายการ ในรายการขอเบิก จะแสดงการยืนยันการลบข้อมูล คลิกที่รูป ลบรายการ ในรายการขอเบิก จะแสดงการยืนยันการลบข้อมูล

6. รายงานการเข้ารับบริการ

รายงานการเข้ารับบริการ สามารถระบุเงื่อนไขในการค้นหาเพื่อแสดงข้อมูลบนหน้าจอโปรแกรม หรือพิมพ์ข้อมูลในรูปแบบ PDF ไฟล์

รายงานการเข้ารับบริการ

7.รายงานการส่งข้อมูล (Statement) เป็นรายงานที่ สปสช. สรุปจากข้อมูลที่ผ่านการอนุมัติ และตัดยอดข้อมูลโดยกำหนดการตัดยอดข้อมูลเป็นรายเดือน โดยต้นสังกัดส่งทันวันตัดยอดข้อมูล (วันสิ้นเดือน) ตัวอย่าง รายงาน Statement เดือน มกราคม ๒๕๕๗ จะเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นจาก วันที่ผู้มีสิทธิเข้ารับบริการ ตั้งแต่วันที่ ๑-๓๑ มกราคม ๒๕๕๗

สามารถระบุเงื่อนไขในการค้นหาคือ ปี พ. ศ สามารถระบุเงื่อนไขในการค้นหาคือ ปี พ.ศ.และเดือน เพื่อแสดงข้อมูลบนหน้าจอโปรแกรม หรือพิมพ์ข้อมูล ในรูปแบบ PDF ไฟล์

ตัวอย่างคำถาม การเบิกในระบบใบเสร็จของ สปสช. ใช้ใบเสร็จตั้งแต่วันที่ 1 ตค. 2556 เป็นต้นไป การเบิกระบบใบเสร็จรับเงินจะใช้ได้กรณี ผู้ป่วยนอกเท่านั้น กรณีที่นอนโรงพยาบาล จะไม่สามารถใช้ระบบใบเสร็จรับเงินได้เพราะ สปสช.จ่ายให้โรงพยาบาลตามระบบ DRGs (เหมาจ่าย)

ตัวอย่างคำถาม กรณีที่นอนข้ามเดือนจากเดือนกันยายน มา และออกจากโรงพยาบาลเดือน ตุลาคม 56 ให้เบิกในระบบของ สปสช. ผู้ป่วยใช้สิทธิ อปท. เข้าฟอกไตที่ รพ.เอกชน สามารถเบิกที่ สปสช.ได้หรือไม่ เบิกได้ ทั้งนี้ต้องติดต่อลงทะเบียนฟอกไตกับ รพ.รัฐก่อน หาก รพ.รัฐออกหนังสือส่งตัวไปฟอก รพ.เอกชน ใช้สิทธิได้ หนังสือส่งตัวมีอายุ 6 เดือน สำหรับผู้ป่วยที่เคยฟอกเอกชนก่อนหน้านั้นหนังสือส่งตัวฉบับเดิมให้ใช้ได้ถึง 31 ธ.ค. 56 วันที่ 1 ม.ค.57 ต้องขอใหม่

ตัวอย่างคำถาม การตรวจสุขภาพประจำปีของข้าราชการ อปท.และบุคคลในครอบครัวยังใช้สิทธิได้เหมือนเดิมหรือไม่ ขณะนี้ยังยึดระเบียบ อปท. พ.ศ.2541 คือให้รวมถึงบุคคลในครอบครัว จนกว่าจะมีประกาศฉบับใหม่ของ อปท.ออกมา

ตัวอย่างคำถาม สิทธิ อปท. เข้ารับบริการที่ รพ.สต. และ รพ.เทศบาล ได้หรือไม่ ทั้ง 2 แห่ง มีสถานะเป็นหน่วยบริการภาครัฐ ใช้สิทธิได้ แต่ปัจจุบันยังไม่สามารถลงทะบียนเบิกจ่ายตรงกับทั้ง 2 หน่วยนี้ได้ ต้องสำรองจ่ายไปก่อน

ตัวอย่างคำถาม เคยมีสิทธิ UC ล้างไตผ่านหน้าท้อง ได้รับน้ำยาส่งถึงบ้าน ปัจจุบันมีสิทธิ อปท. จะขอให้จัดส่งน้ำยาถึงบ้านได้หรือไม่ สิทธิ อปท.ระบบบริหารจัดการน้ำยาล้างไตเหมือนสิทธิข้าราชการ ต้องติดต่อรับน้ำยาเองที่หน่วยบริการภาครัฐที่ลงทะเบียนไว้

ตัวอย่างคำถาม ใบแจ้งหนี้ที่เป็นค่ารักษาหลัง 1 ต.ค. 56 ที่ รพ.ส่งมาให้หน่วยงานสังกัด อปท. สามารถนำมาแสกนส่งเบิกในระบบใบเสร็จจากโปรแกรม อปท. ได้หรือไม่ กรณีผุ้ป่วยในจะไม่มีการเรียกเก็บตามระบบใบเสร็จ เนื่องจาก สปสช.จ่ายตามระบบ DRGs

ตัวอย่างคำถาม สามีสิทธิ์ UC จะสามารถใช้สิทธิ์ จ่ายตรงของ อปท. ของภรรยาได้หรือไม่ ใช้ได้ โดยต้องไปให้นายทะเบียนที่ต้นสังกัดลงทะเบียนใช้สิทธิ์ร่วมของภรรยา

ตัวอย่างคำถาม ภรรยามีสิทธิ์ประกันสังคม สามารถเบิกค่าใช้จ่ายส่วนเกินจาก สามี อปท.ได้หรือไม่ เบิกได้ ส่วนเกินกรณีคลอดบุตร (13,000) คลอดบุตรคนที่ 3 ส่วนเกินกรณีล้างไต (1,500) ทำฟัน (เบิกระบบใบเสร็จเฉพาะ รพ.รัฐเท่านั้น)

ตัวอย่างคำถาม เข้าไปรักษาที่ รพ.เอกชน กรณี อุบัติเหตุ เจ็บป่วยฉุกเฉิน เบิกได้หรือไม่ กรณีที่อาการแรกรับเข้าเกณฑ์ การเจ็บป่วยฉุกเฉิน 3 กองทุน รพ.เอกชนจะเบิกจาก สปสช. กรณีที่อาการแรกรับไม่เข้าเกณฑ์การเจ็บป่วยฉุกเฉิน 3 กองทุน สามารถเบิกในระบบใบเสร็จได้ไม่เกิน 3,000 บาท

ตัวอย่างคำถาม ลูกจ้างประจำที่เกษียณอายุราชการแล้ว รับบำเหน็จรายเดือน จะไม่สามารถใช้สิทธิ์ระบบจ่ายตรงได้