ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โรงเรียนวัดเขาปิ่นทอง
Advertisements

กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการการดำเนินงานปี 2551
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
การส่งเสริมทันต สุขภาพในอนาคต มุมมองของนัก โภชนาการ สง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขระดับ 9 กรมอนามัย.
ตามแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(SRM) สู่การ ปฏิบัติการในพื้นที่
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
การสำรวจหา ค่ากลาง นโยบายรัฐบาล เรื่องการพัฒนาสุขภาพของ ประชาชน ประกาศเมื่อ 23 สิงหาคม จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพโดยมี เป้าหมายเพื่อลดอัตราป่วย.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
กำหนดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
ศูนย์อนามัยที่๔ ราชบุรี
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
การสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
สังคมต้นแบบเรียนรู้การป้องกัน และดูแลโรคกระดูกพรุน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
เครือข่ายการ พัฒนา ทรัพยากร มนุษย์ สุริยะ วงศ์คง คาเทพ.
“ยุทธศาสตร์การพัฒนาทุนทางสังคม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน”
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โครงการ หมู่บ้าน/ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม
พัฒนาองค์กรไร้พุง มุ่งสู่ความยั่งยืน
ทีม นำ “ การนำที่มั่นคง และยั่งยืน ”. “ บางครั้ง การยอมถอยซักก้าว เราจะเห็นทะเลที่ใหญ่ และท้องฟ้าที่สดใสกว่าเดิม ”
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
โภชนบัญญัติ สู่การปฏิบัติเพื่อโภชนาการที่ดี
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
กรมอนามัย ในบทบาทโครงการ
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การนำเสนอ หัวข้อ “ตอบโจทย์อุตสาหกรรมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มุ่งสู่ตลาดโลก” วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2556 ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมรามาการ์เด้นส์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การรายงาน ความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ EdPEx สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว ม.มหิดล วันพุธที่ ๒๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ห้องประชุมประชาสังคมอุดมพัฒน์
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
ปฏิบัติงานบริการคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ ๗ แนวโน้มสังคมไทย และแนวทางเลือก.
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลดพุงมุ่งสู่สุขภาพดี วิถีชีวิตไทย โดย อาจารย์สง่า ดามาพงษ์ ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ

ประเด็น วิเคราะห์แนวคิดพิชิตโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สะท้อนการดำเนินงานที่ผ่านมา ปรับกระบวนทัศน์ใหม่คนไทยไร้พุง

ปรับแนวคิดมาถูกทิศทาง จุดขายคือไขมันที่ช่องท้อง ใช้ลดพุงกุศโลบายลดโรค แก้ด้วย 3 อ. เจาะต้นเหตุ มุ่งเชิงรุก ปลุก Setting

ไขมันช่องท้อง แพทย์เห็นพ้องต้องกัน ว่าเป็นไขมันอันตราย ก่อโรคร้ายเป็นต้นเหตุ “ความตายเป็นอันดับหนึ่ง”

ลดพุงมุ่งลดโรค ลดพุง ลดโรคได้ดีจริง พุงใหญ่ ตายเร็ว เดินมาพุงล้ำหน้า คือสัญญาณอันตราย วัดง่าย ทำได้ด้วยตนเอง สร้างแรงจูงใจได้ดีกว่า

3 อ. เจาะต้นเหตุ พิสูจน์แล้วว่าใช่ ทำได้จะลดพุง 3 อ. ก่อสร้างพฤติกรรมนำสู่ความยั่งยืน 3 อ. คือต้นตอของโรค

มุ่งเชิงรุก เน้นส่งเสริมป้องกัน มุ่งกลุ่มเสี่ยง เลี่ยงเกิดโรค รุกเข้าไปในหน่วยงาน / องค์กร จุดประกาย ยุทำให้ได้ด้วยตนเอง จุดหมายปลายทางคือสร้างพฤติกรรม 3 อ.

ผลงานที่ผ่านมาทรงคุณค่า ของจุดเริ่มต้น สร้างกระแสสังคมไทยได้ เกิดนวัตกรรม 3 อ. เกิดรูปแบบการขับเคลื่อน เกิดองค์กรและชุมชนไร้พุงที่หลากหลาย เกิดบทเรียนสู่การต่อยอด

สิ่งดีๆที่ยังทำไม่ได้ 1 ขาดการขับเคลื่อนเชิงบูรณาการ ให้ความสำคัญการนำองค์ความรู้มาใช้น้อย เน้นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรต่ำมากโดยเฉพาะ 3 ด้าน 1. องค์ความรู้ 2. การจัดการ 3. การสื่อสารและวิทยากร

สิ่งดีๆที่ยังทำไม่ได้ 2 ไม่ได้นำนวัตกรรม 3 อ. มาต่อยอด องค์ความรู้ อ.อารมณ์ไม่ชัด การสร้างแรงจูงใจเบาบาง ขาดเจ้าภาพตัวจริง

สิ่งดีๆที่ยังทำไม่ได้ 3 จุดหมายปลายทางคือ พฤติกรรม 3 อ. ที่ยังไม่พึงประสงค์ ไม่ใช่แค่น้ำหนัก รอบเอวลดลง ยังดึงภาคธุรกิจมามีส่วนร่วมได้น้อย การสร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อพฤติกรรม ทำได้เบาบาง การขับเคลื่อนเชิงนโยบายทำได้ไม่สุด

กระบวนทัศน์ใหม่ 1 ยุทธศาสตร์ “สุขภาพดี วิถีไทย” คือร่มใหญ่ของทุกโครงการ ผลักดันให้เข้าไปอยู่ในแผนชุมชนของ อปท. ผ่าน SRM. ต้องผลักให้เป็นวาระแห่งชาติ

กระบวนทัศน์ใหม่ 2 ดึงภาคอุตสาหกรรมอาหารและสุขภาพเข้ามาร่วมขับเคลื่อน กำหนดมาตรการทางสังคม กฎระเบียบ และกฎหมาย พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ

กระบวนทัศน์ใหม่ 3 พัฒนาสอดรับกับวิถีไทยให้ไร้พุง สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีต่อเนื่อง ปรับกระบวนการสื่อสารสาธารณะให้เข้าถึงและต่อเนื่อง

ขอตอกย้ำต้องทำให้ได้ จุดหมายปลายทางที่แท้จริงคือ ... - พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - ลดปัจจัยเสี่ยงของการก่อโรค

ความท้าทาย 9 ปี ต่อแต่นี้ไป จะสร้างระบบและกลไกอย่างไรให้ยุทธศาสตร์ “สุขภาพดี วิถีไทย” เป็นร่มใหญ่ขับเคลื่อนประเทศไทย ไร้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ขอขอบคุณ และ สวัสดี